Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมเครื่องประดับแท้เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย บุญกิต จิตรงามปลั่ง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การเพิ มศักยภาพอตสาหกรรมเครื องประดับแท้เพื อการเติบโตอย่างยั งยืน ุ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย นายบ ู ุญกิต จิตรงามปลั ง หลักสูตร วปอ. ร่นที 57 ุ การวิจัยในครั งนี เป็ นการศึกษาเชิงลึกเกี ยวกบอุตสาหกรรมเครืองประดับแท้ของไทย ั เพือสะท้อนบทบาท ความสําคัญ และสภาพปัญหาของอุตสาหกรรม ภายใต้ขอบเขตของการศึกษา ซึ งเน้นไปทีเครืองประดับแท้ โดยเฉพาะเครืองประดับทอง และเครืองประดับเงิน ผ่านกรอบ ความคิดในการวิจัย คือ SWOT Analysis, BCG Matrix, Diamond Model และ Five Forces Model โดยผู้วิจัยได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยงานทีเกียวข้อง ร่วมกบข้อมูลปฐมภูมิจาก ั การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทีเกียวข้อง/ ผู้เชียวชาญด้านอุตสาหกรรมเครืองประดับแท้ ผานการปฏิบัติงาน ่ ในฐานะอุปนายกสมาคมผู้ส่งออกเครืองประดับเงินไทย และทีปรึกษากลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื องประดับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รวมถึงการแลกเปลียนความคิดเห็นกับ ผู้ประกอบการผานการประชุมในระดับต ่ ่างๆ อีกทั งการหารือเชิงลึกกบผู้ประกอบการรายอืนๆ ถึง ั ปัญหาของอุตสาหกรรมเครืองประดับแท้ของไทย เพือให้ได้ประเด็นสําคัญต่อการเพิมศักยภาพ อุตสาหกรรมเครืองประดับแท้ ผลจากการศึกษาพบว่า อุตสาหกรรมเครืองประดับแท้มีจุดแข็งในหลายประการทั ง เรืองทักษะ ฝี มือ และมีชือเสียงเป็ นทียอมรับในระดับนานาชาติ ในขณะทีต้องประสบกบปัญหา ั หลายด้าน อาทิ การขาดแคลนวัตถุดิบ แรงงานฝี มือ อุตสาหกรรมสนับสนุน และการขาดการทํา ตลาดเชิงรุก อีกทั งกฎหมายและระเบียบข้อบังคับบางส่วนของภาครัฐทียังไม่เอื อต่อการดําเนินธุรกิจ ทําให้อุตสาหกรรมมีขีดความสามารถในการแข่งขันทีลดลง ทั งยังต้องเผชิญกบแรงกดดันรอบด้าน ั ในภาพรวมจึงพบวา อุตสาหกรรมเครืองประดับแท้ของไทยอยู ่ ในช ่ ่วงทีเริมมีการขยายตัวลดลง จากผลการศึกษาข้างต้นจึงกําหนดเป็ นแนวทางในการเพิมศักยภาพอุตสาหกรรม เครืองประดับแท้เพือการเติบโตอย่างยังยืน ซึงประกอบไปด้วย W. การพัฒนาในเรืองการจัดหาแหล  ่ง วัตถุดิบ และการสร้างแรงดึงดูดให้วัตถุดิบให้ไหลเข้ามาภายในประเทศ Z. การพัฒนาและเพิมศักยภาพ ในการผลิตของผู้ประกอบการไทย [. การพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนและอุตสาหกรรมทีสืบเนือง ให้สอดรับการพัฒนาอุตสาหกรรม \. การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ให้เอื อต่อการ แข่งขันในตลาดโลก ]. การพัฒนาและสร้างระบบสนับสนุนด้านการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการไทย และ ^. การพัฒนากลไกการขับเคลือนและบูรณาการการทํางานของหน่วยงานทีเกียวข้อง

abstract:

ABSTRACT Title Enhancing Potential of Jewelry Industry for Sustainable Growth Field Economics Name Boonkij Jitngamplang Course NDC Class &' This research is an in-depth study on Thailand’s jewelry industry to reflect roles, importance and challenges of the industry. The study focuses on genuine jewelry, particularly gold jewelry and silver jewelry. It was conducted through the application of conceptual frameworks, namely: SWOT analysis, BCG Matrix, Diamond Model and Five Forces Model. Secondary data from related organizations was collected and analyzed in conjunction with primary data from in-depth interviews of related personnel/experts in jewelry industry through the researcher’s services as a vice president of Thai Silver Exporters Association and as a counselor of the Gem and Jewelry Industry Club of the Federal of Thai Industries. Moreover, in order to sum up issues vital to enhancing jewelry industry’s potential, the researcher also exchanged viewpoints with entrepreneurs during different levels of conferences as well as extensive discussions with other entrepreneurs on obstacles Thai jewelry industry had faced. The study revealed that the industry possesses many strengths, including skills, craftsmanship and a globally recognized reputation. However, it still encountered many challenges such as shortage of raw materials, skilled labors and supportive industries. Furthermore, the industry’s competitiveness was weakened by a lack of proactive marketing and some government regulations, considered unsupportive for business. In addition, other all-around pressures also affected the industry. Consequently, Thai jewelry industry’s growth started to decrease in overall perspective. From the above results, approaches to enhance potential of the jewelry industry for its sustainable growth can be concluded as follow: 1. establishing plans to acquire raw material sources and to attract raw material inflow into the country; 3. improving and building up manufacturing capacity of Thai manufacturers; 4. developing supportive and subsequent industries to conform with the industry’s progression; 5. revising laws and regulations to boost the industry’s competitiveness in global market; 6. developing and generating marketing supportive systems for Thai entrepreneurs; 7. developing mechanisms to propel and integrate with related agencies’ operations.