สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
013882
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000057
เรื่อง:
การศึกษาแนวทางการปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติ (กรณีน้ำมันรั่วไหล)
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี บัณฑิตย์ จันทโรจวงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
ก บทคัดย่อ เรือง การศึกษาแนวทางการปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติ (กรณีนํามันรัวไหล) ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย พลเรือตรี บัณฑิตย์ จันทโรจวงศ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๗ การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์ทีจะศึกษาระเบียบ แผน กฎหมายทีเกียวข้องและ กระบวนการปฏิบัติในการขจัดคราบนํามันของประเทศไทย ว่ามีประเด็นใดทียังเป็ นข้อขัดข้อง หรือเป็ นข้อจํากัดของการปฏิบัติงาน ทังนีเพือนําไปสู่ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระเบียบ แผน และกระบวนการในการดําเนินการขจัดคราบนํามันให้เหมาะสมยิงขึน นอกจากนียังจะได้ศึกษา เพิมเติมว่า มีเทคโนโลยีทีทันสมัยประเภทใดบ้างทีจะช่วยให้การดําเนินงานของหน่วยงาน ทีรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพมากยิงขึน โดยในการวิจัยนีจะทําการวิจัยเชิงคุณภาพ ( Qualitative Research ) แบบการวิจัยทางเอกสาร ( Documentary ) ซึงผลการวิจัยชีให้เห็นว่าถึงแม้ประเทศไทย จะได้กําหนดมาตรการในการป้ องกันและขจัดคราบนํามันทีปนเปือนในแหล่งนําไว้แล้วก็ตาม แต่ตลอดเวลาทีผ่านมา การป้ องกันและขจัดคราบนํามัน ก็ยังไม่สามารถดําเนินการไปได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยพบว่ากลไกการทํางานของหน่วยงานภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็ นปัญหาจาก การประสานงาน หรือขันตอนในการปฏิบัติทีค่อนข้างมาก จึงเป็นสาเหตุของความล่าช้า ประกอบ กับศูนย์ประสานงานซึงเป็นหน่วยหลักในการประสานการปฏิบัติทังปวงนัน ยังไม่สามารถ ดําเนินงานได้อย่างเต็มทีตามรูปแบบทีได้วางไว้ทําให้ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานลดลง ซึงผู้วิจัย มีความเห็นว่าควรจะต้องปรับปรุงศูนย์ประสานงานให้มีการบริหารจัดการในรูปแบบองค์กรเอกชน เพือให้เกิดความคล่องตัว ลดขันตอนในการทํางาน มีอํานาจสังการในตัวเอง มีการปฏิบัติงานตลอด ๒๔ ชัวโมง มีห้องปฏิบัติการทีสามารถติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์ได้ตลอดเวลา มีบุคลากร ทีมีความรู้ ความชํานาญในจํานวนทีเหมาะสม จะต้องเพิมขีดความสามารถของหน่วยทีเข้า ปฏิบัติการในพืนที ทังด้านองค์วัตถุให้มีความสมบูรณ์และเพียงพอสําหรับการใช้งาน สําหรับด้าน องค์บุคคลนัน จะต้องพัฒนาให้มีความรู้ ความชํานาญและมีความต่อเนืองในการปฏิบัติงาน รวมทัง ต้องนําเทคโนโยลีใหม่ๆ เช่น ระบบเรดาร์ชายฝัง และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมาใช้ในการวิเคราะห์ และติดตามสถานการณ์ด้วย ประการสุดท้ายจะต้องปรับปรุงและพัฒนาระเบียบฯ และ แผนขึนใหม่ ให้สามารถรองรับการแก้ไขปัญหาการขจัดคราบนํามันในทะเลทีจะต้องเกิดขึนอย่างแน่นอนใน อนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
abstract:
0