Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางการปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติ (กรณีน้ำมันรั่วไหล)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี บัณฑิตย์ จันทโรจวงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง การศึกษาแนวทางการปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติ (กรณีนํามันรัวไหล) ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย พลเรือตรี บัณฑิตย์ จันทโรจวงศ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๗ การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์ทีจะศึกษาระเบียบ แผน กฎหมายทีเกียวข้องและ กระบวนการปฏิบัติในการขจัดคราบนํามันของประเทศไทย ว่ามีประเด็นใดทียังเป็ นข้อขัดข้อง หรือเป็ นข้อจํากัดของการปฏิบัติงาน ทังนีเพือนําไปสู่ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระเบียบ แผน และกระบวนการในการดําเนินการขจัดคราบนํามันให้เหมาะสมยิงขึน นอกจากนียังจะได้ศึกษา เพิมเติมว่า มีเทคโนโลยีทีทันสมัยประเภทใดบ้างทีจะช่วยให้การดําเนินงานของหน่วยงาน ทีรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพมากยิงขึน โดยในการวิจัยนีจะทําการวิจัยเชิงคุณภาพ ( Qualitative Research ) แบบการวิจัยทางเอกสาร ( Documentary ) ซึงผลการวิจัยชีให้เห็นว่าถึงแม้ประเทศไทย จะได้กําหนดมาตรการในการป้ องกันและขจัดคราบนํามันทีปนเปือนในแหล่งนําไว้แล้วก็ตาม แต่ตลอดเวลาทีผ่านมา การป้ องกันและขจัดคราบนํามัน ก็ยังไม่สามารถดําเนินการไปได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยพบว่ากลไกการทํางานของหน่วยงานภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็ นปัญหาจาก การประสานงาน หรือขันตอนในการปฏิบัติทีค่อนข้างมาก จึงเป็นสาเหตุของความล่าช้า ประกอบ กับศูนย์ประสานงานซึงเป็นหน่วยหลักในการประสานการปฏิบัติทังปวงนัน ยังไม่สามารถ ดําเนินงานได้อย่างเต็มทีตามรูปแบบทีได้วางไว้ทําให้ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานลดลง ซึงผู้วิจัย มีความเห็นว่าควรจะต้องปรับปรุงศูนย์ประสานงานให้มีการบริหารจัดการในรูปแบบองค์กรเอกชน เพือให้เกิดความคล่องตัว ลดขันตอนในการทํางาน มีอํานาจสังการในตัวเอง มีการปฏิบัติงานตลอด ๒๔ ชัวโมง มีห้องปฏิบัติการทีสามารถติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์ได้ตลอดเวลา มีบุคลากร ทีมีความรู้ ความชํานาญในจํานวนทีเหมาะสม จะต้องเพิมขีดความสามารถของหน่วยทีเข้า ปฏิบัติการในพืนที ทังด้านองค์วัตถุให้มีความสมบูรณ์และเพียงพอสําหรับการใช้งาน สําหรับด้าน องค์บุคคลนัน จะต้องพัฒนาให้มีความรู้ ความชํานาญและมีความต่อเนืองในการปฏิบัติงาน รวมทัง ต้องนําเทคโนโยลีใหม่ๆ เช่น ระบบเรดาร์ชายฝัง และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมาใช้ในการวิเคราะห์ และติดตามสถานการณ์ด้วย ประการสุดท้ายจะต้องปรับปรุงและพัฒนาระเบียบฯ และ แผนขึนใหม่ ให้สามารถรองรับการแก้ไขปัญหาการขจัดคราบนํามันในทะเลทีจะต้องเกิดขึนอย่างแน่นอนใน อนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

abstract:

0