เรื่อง: การปรับปรุงกลไกเชิงนโยบายด้านเศรษฐกิจของไทยเพื่อขับเคลื่อนการเปิดเสรีภาคบริการภายใต้ประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว บรรจงจิตต์ อังศุสิงห์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การปรับปรุงกลไกเชิงนโยบายดานเศรษฐกิจของไทยเพื่อรองรับ
การเป ดเสรีภาคบริการไทยภายใตประชาคมอาเซียน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางสาวบรรจงจิตต- อังศุสิงห- หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การเปดเสรีตลาดการคาบริการภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปนทั้งโอกาสและ
ความทาทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคตภายในป( พ.ศ. 2558 โดยไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน
ตองเปดเสรีภาคบริการทั้งสิ้น 128 สาขา หากเปรียบเทียบภาคบริการในประเทศสมาชิกอาเซียนใน
ป0จจุบันแลว สิงคโปร2 เปนประเทศที่มีความพรอมมากที่สุด และน4าจะไดรับประโยชน2จากการเปดเสรี
ภาคบริการในภาพรวมมากที่สุด รองลงมา ไดแก4 มาเลเซีย และไทย ขณะที่อินโดนีเซีย และฟลิปปนส2
บรูไน และเวียดนาม น4าจะอยู4ในกลุ4มที่ไดรับประโยชน2ถัดไป และกลุ4มที่ไดรับประโยชน2ลําดับหลัง
ไดแก4 กัมพูชา ลาว และเมียนมา ตามลําดับ
ผลการวิจัยพบว4า ป0ญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการเปดเสรีภาคบริการ ไดแก4 การ
ขาดนโยบายภาพรวมและกลไกกํากับดูแลภาคบริการทั้งระบบ อุปสรรคดานโครงสรางของภาคบริการ
อาทิ มากกว4ารอยละ 95 ของผูประกอบธุรกิจภาคบริการยังเปนผูประกอบการขนาดกลางและขนาด
เล็กทําใหไม4มีศักยภาพเพียงพอในการแข4งขันระหว4างประเทศ การขาดนโยบายส4งเสริมและสนับสนุน
การไปลงทุนในต4างประเทศของผูประกอบการไทย การพัฒนากําลังคนเพื่อตอบสนองตลาดแรงงานทั้ง
แรงงานระดับเทคนิคและบุคลากรทางวิชาชีพระดับสูงยังไม4เพียงพอ และป0ญหาและอุปสรรคดานกฎ
กติกาของภาครัฐ โดยเฉพาะอย4างยิ่งกฎหมายหลายฉบับลาสมัย ไม4เอื้อต4อการแข4งขันในการประกอบ
ธุรกิจ
ขอเสนอแนะการปรับปรุงกลไกเชิงนโยบายดานเศรษฐกิจของไทยเพื่อรองรับการเปดเสรี
ภาคบริการไทยภายใตประชาคมอาเซียน ไดแก4 การปรับปรุงดานสถาบัน โดยกําหนดใหการปฏิรูปและ
การเปดเสรีภาคบริการเปน “วาระแห4งชาติ” ตลอดจนทบทวนกลไกของรัฐในการพัฒนา ส4งเสริม และ
กํากับดูแลใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น การมอบหมายใหหน4วยงานภาครัฐที่เกี่ยวของในการกํากับดูแล
ภาคบริการรายสาขาเร4งรัดการทบทวนกฎหมายและกฎระเบียบที่อยู4ในความดูแลใหสอดคลองกับภูมิ
ทัศน2ดานการเปดเสรีในป0จจุบัน การพัฒนามาตรฐานและองค2ความรูภาคบริการ รวมทั้งการทํางาน
ร4วมกันแบบบูรณาการระหว4างภาครัฐ สภาวิชาชีพ ภาคเอกชนและภาคการศึกษาเพื่อจัดทํานโยบาย
ของประเทศดานการพัฒนาทุนมนุษย2ใหสอดคลองกับความตองการภาคบริการ
abstract:
Abstract
Title: The Reform of Thailand’s Economic Policy Mechanism to Facilitate
Services Trade Liberalization under the ASEAN Community.
Field: Economics
Name: Miss Banjongjitt Angsusingh Course NDC Class 57
The liberalization of the services industry under the ASEAN Economic
Community (AEC) presents both opportunities and challenges for Thailand. Given the
current state of development, Singapore is the most prepared and hence will benefit the
most from the liberalization, followed by Malaysia and Thailand. Indonesia, the
Philippines, Brunei Darussalam and Vietnam will be the next group to benefit. The last
group of countries, which will gain benefit, is Cambodia, Laos PDR and Myanmar
respectively.
The findings of this study indicate three main obstacles to services
liberalization in Thailand. Firstly, there is a lack of an overall policy or mechanism to
oversee the services industry. Secondly, the structure of the services industry including
the majority of service providers in Thailand still being small and medium enterprises are
considered as challenges in the competitive global businesses. Finally, the skill
development at both technical and professional levels does not meet requirements of
labor market demand.
The key recommendations for reform of the economic policy mechanism in
Thailand in order to facilitate services trade liberalization under ASEAN Community are
proposed as follows. Institutional reform and liberalization of services sector should be
introduced as a part of the “national agenda”. In addition, the revision of regulations
should be implemented to ensure that they conform to the landscape of the current
services liberalization. The final recommendation is to improve workforce capabilities and
standards in the services industry through collaboration among government agencies,
private sectors, educational institutions, and professional bodies.