เรื่อง: การเพิ่มกำลังอำนาจของชาติด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศทางทะเล, (วปอ.9927)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี ยอดรัก ศิลปดุริยางค์, (วปอ.9927)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานขอมูลภูมิสารสนเทศทางทะเลเพื่อเพิ่ม
กําลังอํานาจของชาติ
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย พลเรอืตรียอดรัก ศิลปดุริยางค หลักสูตร วปอ. รุนที่ 65
การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานขอมูลภูมิสารสนเทศ
ทางทะเลเพื่อเพิ่มกํากําลังอํานาจของชาติ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) รวมกับ
ใชการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษากระบวนงานเตรียม
ความพรอมในการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดวยขอมูลภูมิสารสนเทศทางทะเล (2) ศึกษา
วิเคราะหระบบโครงสรางพื้นฐานของหนวยงานอุทกศาสตรของแตละประเทศ เพื่อปรับใชตาม
แผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 13 แผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป และแผนการ
ขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสําหรับประเทศไทย (The Sustainable Development
Goals in Thailand) (3) เสนอแนวทางการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานขอมูลภูมิสารสนเทศ
ทางทะเล ที่กรมอุทกศาสตร กองทัพเรือเปนเจาของขอมูล และประยุกตใชงานขอมูลภูมิสารสนเทศใน
การอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและใชประโยชนจากมหาสมุทรเพื่อความมั่นคงภายในประเทศ
การวิจัย ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลทุติยภูมิจากหลายแหลง อาทิ ขอมูลจากหนวยงาน
อุทกศาสตรสากล (IHO) กรมอุทกศาสตรอินโดนีเซีย มาเลเซีย และ เกาหลี เปนตน สวนขอมูลปฐมภูมิ
ใชการสัมภาษณเชิงลึกจากผูที่มีสวนเกี่ยวของกับผูเชี่ยวชาญทางดานอุทกศาสตรและภูมิสารสนเทศ
เพื่อใหไดขอมูลที่เที่ยงตรงและนาเชื่อถือ การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดทําการรวบรวมและจัดระเบียบขอมูล
จากนั้น ทําการวิเคราะหขอมูลโดยแบงตามปจจัย 3 ดาน คือ ดานการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนา
ระบบโครงสรางพื้นฐานดานภูมิสารสนเทศทางทะเล ดานการยกระดับองคความรูของหนวยงาน
ที่เกี่ยวของ ดานการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล
สรุปผลการวิจัย พบวา การปฏิบัติงานตามแผนการกําหนดยุทธศาสตรชาติ 20 ป
ยังขาดหนวยงานหลักที่รับผิดชอบ ดูแลควบคุมเรื่องความมั่นคงทางทะเล การรักษากฎหมายและ
ความสงบเรียบรอยในทะเล การบรรเทาสาธารณภัยและการชวยเหลือและกูภัยในทะเล การสํารวจ
ทางทะเล การจัดการความปลอดภัยในการสัญจรและขนสงสินคาทางทะเล การรักษาสิ่งแวดลอม
ทางทะเล และการสรางความรวมมือกับนานาประเทศเพื่อความยั่งยืนทางทะเล ซึ่งการมีองคกรทาง
ทะเลโดยเฉพาะเชนนี้ทําใหสามารถกําหนดนโยบายและการดําเนินการตาง ๆ ทางทะเล เปนไปใน
ทิศทางเดียวกันไดโดยสะดวก และควรมีการบูรณการขอมูลจากหนวยงานเจาของขอมูลที่เกี่ยวของ
เชน หนวยงานอุตุนิยมวิทยา กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมประมง กรมเจาทา ศรชล.
หนวยงานในทองถิ่น และหนวยงานอื่น ๆ และการยกระดับองคความรู ยังเปนองคความรูในวงแคบ
หรือเฉพาะทาง และไมสามารถบูรณาการขอมูลในการจัดทําระบบโครงสรางพื้นฐานดาน
ภูมิสารสนเทศทางทะเล เนื่องจากขาดหนวยงานหลักที่รับผิดชอบขอมูลและฐานขอมูลหรือ
แพลตฟอรมการบริหารจัดการฐานขอมูลกลางของประเทศ รวมทั้งการกําหนดมาตรฐานขอมูลข
ประเภทตาง ๆ ใหสามารถนํามาแบงปนและใชงานรวมกันได รวมทั้งมีแผนที่ฐาน (Base Map) ที่มี
โครงสรางแผนที่เดียวกัน แตจัดกลุมและแยกประเภทแผนที่ฐานที่เหมาะกับงานแตละประเภทเพื่อนํา
ขอมูลตาง ๆ ไดรับการวิเคราะหและจัดทําขอมูลใหพรอมใชงาน และแยกฐานขอมูลไวสําหรับการ
ใหบริการโดยเฉพาะ และมีการบริการจัดใหมีแพลตฟอรมบริการทั้งแบบการใชงานภายในหนวยงานรัฐ
และการบริการสูภายนอกใหกับผูใชงานทั่วไปและประชาชนไดรับทราบถึงประโยชนที่จะไดรับ ค
abstract:
Title The development of marine geospatial infrastructure data to expand
National authority
Field Science and Technology
Name Rear Admiral Yodruk Silapaduriyank Course NDC Class 65
The study of the development of marine geospatial infrastructure to
expand national authority is a qualitative research with a description of research to
(1) study the process of preparing for the development of marine geospatial
infrastructure systems. (2) analyze the infrastructure system of the hydrographic
agencies of each country and adapt them into the 13th National social and
economic development plan. the 20 year National strategic plan and the sustainable
development goals in Thailand. (3) Propose a plan for the development of marine
geospatial infrastructure data which the Hydrographic department own and
application of geospatial information in marine resource conservation and ocean
utilization for domestic security. In this study, researcher have compiled secondary
data from multiple resources such as data from the international Hydrographic
Agency (IHO), Hydrographic department of Indonesia , Malaysia and Korea. For
primary data use an interviews from professionals from hydrographic and geospatial
department to obtain accurate and reliable source. Researcher has collected and
organized the data, then analyzed according to 3 factors which are formulation of
strategies for the development of marine geospatial infrastructure system,
development of the knowledge relevant agencies in terms of enhancing the
efficiency of management and protecting the interests of the maritime nation.
For summaries, researcher found that the implementation of the 20 year
national strategic plan still lacks a main responsible agency for supervising maritime
security and maintaining rule for sea disaster relief and rescue. Sea marine
exploration safety management in maritime traffic and cargo protecting the marine
environment and establishing partnerships with other countries for marine
sustainability. In which, having a dedicated maritime organization like this makes it
possible to formulate various maritime policies and operations in the same direction
with ease. therefore this should be integration of data from relevant data owners
such as meteorological agencies. The department of fisheries, Marine department,
Srinakharinwirot University, local agencies and other knowledge enhancement are
still narrow and limited in specialized areas and unable to integrate data for the ง
preparation of marine geospatial infrastructure system due to the lack of a main
agency responsible for data and database or the central database management
platform of the country. This includes setting standards for various types of
information to corporate for a base map with the same map structure. However,
grouping and separating basemap types is suitable for each type of work to bring
various information and get analyzed and make the information available. Separate
database for specific service to provide a service platform both for use within
government agencies and external services for general use. The public aims to be
aware of the benefits that will be equally received .จ