เรื่อง: การบูรณาการความร่วมมือผู้นำชุมชนในการป้องกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว, (วปอ.9926)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ยงยุทธ ขันทวี, (วปอ.9926)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง การบูรณาการความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกันยาเสพติดของชุมชน
พื้นทีชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พลตรี ยงยุทธ ขันทวี หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๕
การศึกษาเรื่อง “การบูรณาการความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกันยาเสพติดของชุมชนพื้น
ทีชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงสภาพ
การบูรณาการความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว เพื่อวิเคราะหปจจัยปญหาและการบูรณาการ
ความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบนของประเทศไทย-ลาว และเพื่อกําหนดแนวทางในการบูรณาการความรวมมือผูนําชุมชน
ในการปองกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว
ผลการศึกษา พบวา (๑) สภาพการบูรณาการความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกัน
ยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว ไดแก
ชวยเหลือดูแลประชาชน ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนา เตรียมความพรอมทุก
ดานใหเกิดการรับรูและติดตามขอมูลขาวสารเพื่อประชาสัมพันธประชุมรวมกันกับประชาชนในทุก
เดือนเพื่อแจงขอมูลขาวสารจากหนวยงานราชการ และรายงานความเปนอยูในชุมชนใหหนวยงาน
ราชการทราบ ตรวจสอบดูแลความเสียหายรายงานตอหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมมือทํางานกับ
หนวยงานราชการในพื้นที่ ประชุมอบรมพัฒนาความรูอยูเสมอ สรางความเขมแขงในชุมชน สราง
ความปรองดองสามัคคีใหประชาชน เตรียมพรอมหลุมหลบภัย รวมเสริมสรางความสัมพันธที่ดีของทั้ง
สองประเทศ (ไทย-ลาว) ใหดีขึ้น เฝาระวังเรื่องยาเสพติด การทะเลาะวิวาท และเรื่องที่ผิดกฎหมาย
และรวมกิจกรรมหรือรวมประชุมกับหนวยงานราชการอยางตอเนื่อง (๒) ปจจัยปญหาและการบูรณาการ
ความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบนของประเทศไทย-ลาว แบงเปน 3 ดาน ไดแก ดานประชาชน ประกอบดวย ความรวมมือของ
ประชาชน และความสามัคคีของประชาชนในพื้นที่ชายแดน ดานผูนํา ประกอบดวย ขวัญกําลังใจของผูนํา
ความศรัทธาที่ประชาชนมีตอผูนํา การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่ดี การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง
ผูนําตามแนวชายแดนไทยกัมพูชา และการทํางานรวมกับเครือขายชุมชนตามแนวชายแดน และ
ดานภาครัฐ ประกอบดวย การจัดสรรงบประมาณของหนวยงานราชการที่เอื้อเพียงพอเหมาะสมตอการ
พัฒนาพื้นที่ชุมชนตามแนวชายแดน นโยบายของรัฐ และการทํางานรวมกับเครือขายเพื่อแกไขปญหา
(๓) แนวทางในการบูรณาการความรวมมือผูนําชุมชนในการปองกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว ไดแก (๓.๑) การสรางความสัมพันธที่ดีระหวาง
ผูนําและสมาชิกชุมชนตามแนวชายแดน (๓.๒) ประชุมผูนําชุมชนใหมีความรู เขาใจ เกี่ยวกับกฎหมายและ
อื่น ๆ เพื่อแสวงหาแนวทางการพัฒนาหมูบานเพื่อความเขมแข็ง (๓.๓) ภาครัฐและหนวยงานทางทหารควร
เขามาชวยผูนําชุมชนใหความรูแกประชาชนเกี่ยวกับระเบียบกฎหมายที่ควรรูเพื่อกระชับความสัมพันธข
และชวยเหลือผูนําชุมชนในการใหความรูแกประชาชนเปนระยะเพื่อใหเกิดความสัมพันธสรางความมั่นคง
อยางตอเนื่อง และเปนการสรางขวัญกําลังใจใหกับผูนํา และ (๓.๔) ภาครัฐควรจัดใหมีการประชุมอบรม
สัมมนารวมกันระหวางผูนําชุมชนชายแดนไทย-ลาวใหเกิดความสัมพันธที่ดีเพิ่มความมั่นใจลดความ
หวาดระแวงระหวางสองพื้นที่ พรอมทั้งพัฒนาผูนําชุมชนดานสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ และชุมชนควรมี
เครือขายองคกรความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อชวยเสริมสรางความเขมแข็ง และ
(๔) ขอเสนอแนะผูวิจัยมีขอเสนอแนะจากการศึกษาในประเด็นตางๆ อาทิเชน (๔.๑) ปญหาและ
ขอเสนอแนะ คือ การสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน/หมูบาน โดยใหคนในชุมชน/หมูบาน ไดเห็นถึง
ความสําคัญของการมีสวนรวมในการแกปญหา และเห็นถึงภัยรายจากยาเสพติดตาง ๆ ที่เขามา
ภายในชุมชน โดยตองมีกลยุทธหรือวิธีการที่จะทําใหเกิดการสนับสนุนทางขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ
แหลงยาเสพติด หรือแมกระทั้งบอกเบาะแสของผูคายาเสพติด ซ่ึงจะมีสวนชวยในการแกไขปญหายา
เสพติดทั้งในในพื้นที่หรือมาจากภายนอกพื้นที่เองก็ตาม (๔.๒) ขอเสนอแนะหมูบาน/ชุมชนเขมแข็ง
เอาชนะยาเสพติดตามแผนงานยุทธศาสตรปองกันปราบปรามและบําบัดผูติดยาเสพติด คือ การ
บริหารจัดการภายในหนวยก็จะสามารถเดินหนาไดอยางมั่นคงและมีจุดหมายพรอม ๆ กับการปฏิบัติ
ภารกิจของเจาหนาที่ที่จะทําหนาที่ขับเคลื่อนความมั่นคง (๔.๓) ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย อาทิเชน
(๑) รัฐควรมีนโยบายที่ชัดเจนในการกําหนดแนวทางการปฏิบัติการสรางเครอืขายระหวางภาครัฐและ
เอกชนจัดสรางกลไกการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในการทําความเขาใจเกี่ยวกับ
สถานการณปญหาของยาเสพติดและการวางแผนงานและโครงการรวมกัน (๒) การบริหารจัดการ
จัดตั้งหนวยงานเพื่อใหติดตามปญหายาเสพติดในชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ และ (๓) ควรเปลี่ยน
มุมมองการทํางานดานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด โดยยอมรับและเชื่อมั่นในการดําเนินงาน
ของภาคประชาสังคม และทําความเขาใจวาประชาชนเปนเจาของปญหารวมกัน และ
(๔.๔) ขอเสนอแนะในการพัฒนางานวิจัย คือ การพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชนในการนํานโยบาย
เสริมสรางความเขมแข็งปองกันและแกไขปญหายาเสพติด เพื่อใหไดแนวทางการปฏิบัติเพื่อใชเปน
แนวทางในการบูรณาการของทุกภาคสวน และการพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชนในการนํานโยบาย
เสริมสรางความเขมแข็งปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในตางประเทศเพื่อทําการเปรียบเทียบและ
พัฒนาการดําเนินงานภายในประเทศใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ค
abstract:
Title Integration of Community Leadership Cooperation in Drug Prevention
of Communities in the Upper Northeast Border Region of Thailand-Laos
Field Military
Name Major General Yongyut Khantawee Course NDC Class 65
The study subject “Integration of Community Leadership Cooperation in
Drug Prevention of Communities in the Upper Northeast Border Region of ThailandLaos”. The purpose of this study was to study the state of community leaders'
cooperation in drug prevention in the upper northeastern border region of ThailandLaos. To analyze problem factors and the integration of community leaders'
cooperation in drug prevention among communities in the upper northeastern
border areas of Thailand-Laos. and to set guidelines for integrating community
leaders' cooperation in drug prevention among communities in the upper
northeastern border areas of Thailand-Laos.
The results of the study found that (1) The condition for the integration of
community leaders' cooperation in drug prevention among communities in the upper
northeastern border of Thailand-Laos, namely helping to take care of the people.
Coordinate with agencies involved in the development. Preparing in all aspects to create
awareness and follow up on information for public relations, hold meetings with the
public every month to inform information from government agencies. And report the living
in the community to government agencies. Inspect and take care of the damage and
report to relevant agencies. Cooperate with government agencies in the area Training
meetings to always develop knowledge Build strength in the community create harmony
and unity for the people Get ready for the bunker. jointly strengthen the good relations of
the two countries (Thailand - Laos) to be better watch out for drugs controversy and illegal
matters and participating in activities or meetings with government agencies continuously.
(2) Problem factors and integration of community leaders cooperation in drug prevention
communities in the upper northeastern border areas of Thailand - Laos, divided into 3
aspects. namely, the people side, consisting of the cooperation of the people and the
unity of the people in the border areas. People's faith in their leaders good information
publicity Exchange of knowledge among leaders along the Thai-Cambodian border and
working with community networks along the border and the public sector, consisting of
government agencies' budget allocation that is sufficient and appropriate for the
development of border communities, government policies, and working with networks to ง
solve problems; Drug prevention of communities in the upper northeastern border of
Thailand - Laos include: (3.1) building good relationships between leaders and community
members along the border; Know and understand about the law and others in order to
seek ways to develop the village for strength. (3.3) Government and military agencies
should help community leaders to educate people about the rules and regulations that
they should know in order to strengthen. Relating and assisting community leaders in
educating the people periodically in order to build relationships and create continued
stability. and to build morale for leaders and (3.4) the government should organize training
meetings and seminars between leaders of Thai-Lao border communities to create good
relations, increase confidence, reduce suspicion between the two areas. as well as
developing community leaders for physical and mental health, and the community
should have a network of organizations collaborating with government agencies and the
private sector to help strengthen and (4) suggestions. Issues such as (4.1) Problems and
suggestions are to strengthen the community/village. by giving people in the community /
village has seen the importance of participating in problem solving and see the dangers of
various drugs that enter the community There must be a strategy or method to create
support for various information related to drug sources. or even tell the whereabouts of
drug traffickers This will help to solve the drug problem, either in the area or from outside
the area itself. that is, the management within the unit will be able to move forward
steadily and with goals along with the mission of the officials who will drive the security
(4.3) Policy recommendations such as (1) the state should have Clear policy in setting
guidelines establishing a network between the public and private sectors, establishing
a mechanism for exchanging information between agencies involved in understanding the
drug problem situation and jointly planning work and projects; to effectively monitor drug
problems in the community; and (3) should change the perspective of working on drug
prevention and solution. by accepting and believing in the operation of civil society And
understand that the people are the owners of the problem together and (4.4) Suggestions
for research development are to develop community participation in implementing
policies to strengthen the prevention and solution of drug problems. to obtain practical
guidelines to be used as a guideline for the integration of all sectors and the development
of community participation in bringing policies to strengthen the prevention and solution
of drug problems in foreign countries in order to compare and develop domestic
operations to keep pace with the changes in the global society. จ
ค ำน ำ
การศึกษาในหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรได้ก าหนดให้
นักศึกษาทุกคนต้องจัดท าเอกสารวิจัยส่วนบุคคลในเรื่องที่ตนสนใจ เพื่อให้เป็นไปตามที่หลักสูตรก าหนด
เหตุผลที่ส าคัญอีกประการหนึ่งก็คือความคาดหวังว่าเรื่องที่ท าการวิจัยนั้นจะได้ถูกน าไปใช้ประโยชน์ โดย
ผู้ที่สนใจทั้งในการศึกษาต่อยอดหรือพิจารณาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการปฏิบัติงาน
ดังนั้น ผู้วิจัยในฐานะนักศึกษาหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๖๕ จึงได้สนใจเลือก
หัวข้อวิจัย เรื่อง “การบูรณาการความร่วมมือผู้น าชุมชนในการป้องกันยาเสพติดของชุมชนพื้นทีชายแดน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว” ซึ่งเป็นเรื่องที่ผู้วิจัยมีความเชี่ยวชาญ และมีความ
สนใจศึกษาติดตามมาอย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยเชื่อว่าผลการวิจัยที่ได้ผ่านการศึกษาและวิเคราะห์อย่างละเอียด
เพื่อก าหนดแนวทางในการบูรณาการความร่วมมือผู้น าชุมชนในการป้องกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่
ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติฉบับนี้
จะเป็นกลไกหลักที่จะช่วยสนับสนุนและบริหารจัดการให้เกิดความเชื่อมโยงของภารกิจที่มีความคุ้มค่า
สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของพื้นที่และทิศทางการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสามารถตอบสนอง
ต่อความต้องการของเกษตรกรและประชาชนต่อไป
ผู้วิจัยจึงหวังว่า เอกสารวิจัยฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจตามที่ผู้วิจัยมีความ
ตั้งใจและเป็นไปตามเจตนารมณ์ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรที่ก าหนดไว้ อย่างไรก็ตามการจัดท า
เอกสารวิจัยฉบับนี้จัดท าขึ้นในระยะเวลาจ ากัดตามขอบเขตของการวิจัย จึงไม่สามารถศึกษาให้ครอบคลุม
กว้างขวางครบทุกประเด็นตามที่บางท่านสนใจ แต่ได้มุ่งเน้นประเด็นส าคัญที่จะน าไปก าหนดเป็นนโยบาย
ด้านความมั่นคงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับก าหนดแนวทางในการบูรณาการความร่วมมือผู้น าชุมชนในการ
ป้องกันยาเสพติดของชุมชนพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย-ลาว รวมทั้ง
กลไกการด าเนินงานที่จะมาเสริมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมตามวัตถุประสงค์หลักของผู้เสนอหัวข้อวิจัยนี้
สุดท้ายนี้ หากเอกสารวิจัยฉบับนี้มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ผิดพลาดไม่สมบูรณ์โดยไม่ตั้งใจ ผู้วิจัยขอ
อภัยและขอน้อมรับไว้ แต่หากมีประโยชน์สิ่งหนึ่งประการใดที่เกิดจากงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยขอมอบแด่กองบัญชาการ
กองทัพไทย สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และกองพลทหารราบที่ ๓
กองทัพภาคที่ ๒ ที่ได้ให้โอกาสแก่ผู้วิจัยได้เข้ามาศึกษาในหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๖๕ นี้
พลตรี
(ยงยุทธ ขันทวี)
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
ผู้วิจัยง
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
Abstract ข