เรื่อง: แนวทางในการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้กลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคงที่สอดคล้องกับบริบทจังหวัดชายแดนภาคใต้, (วปอ.9922)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก มานิตย์ เผ่าพงษ์จันทร์, (วปอ.9922)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้
กลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคงที่สอดคล้องกับบริบทจังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พันเอก มานิตย์ เผ่าพงษ์จันทร์ นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ๑) เพื่อศึกษาสภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเยาวชน
และความต้องการในการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้๒) เพื่อศึกษาปัญหา
อุปสรรคในการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓) เพื่อก าหนดแนวทางการ
พัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยใช้กลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคงที่
สอดคล้องกับบริบทพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้า
จากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบกับทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพเยาวชนใน
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการถอดแบบบทเรียนจากตัวแบบที่ส าเร็จ รวมทั้งนโยบาย แผนงาน
เอกสาร ค าสั่ง และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพแบบเฉพาะกรณี เลือกกลุ่ม
ตัวอย่างแบบเจาะจง จากการเก็บข้อมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ์ การศึกษาดูงาน และ
ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริง และการสนทนากลุ่ม (Focus group) จ านวน ๔ ครั้ง ทั้งนี้การ
เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ๓ กลุ่ม ได้แก่ เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ที่ได้รับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มเยาวชนต้นแบบ และ
กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูภูมิปัญญา ภาคประชาสังคม ผู้ปกครองของเด็กและเยาวชน
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมจ านวน ๒๕ คน และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพ
เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้กลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคงที่สอดคล้องกับบริบท
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ผลการศึกษาพบว่า สภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาการศึกษาของเยาวชน การเผชิญกับปัญหาความไม่สงบในพื้นที่สาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลให้เยาวชนยากต่อการเข้าถึงระบบการศึกษา และการบริการของภาครัฐ
เยาวชนขาดโอกาสเนื่องจากครอบครัวมีฐานะยากจน ความมั่นคงทางการเมืองไม่มีเสถียรภาพท าให้เกิด
ความขัดแย้ง และเกิดความรุนแรงขึ้นในพื้นที่ ความขัดสนทางด้านเศรษฐกิจท าให้เยาวชนเปลี่ยน
ทางเลือกจากการเข้ารับการศึกษาหันไปประกอบอาชีพแทน การชี้น าที่บิดเบือนข้อเท็จจริง รวมถึงการ
บ่มเพาะท าให้กระทบต่อแนวความคิด เกิดอุปสรรคต่อการพัฒนาการศึกษาปัญหาอุปสรรคในการพัฒนา
ศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบสภาพปัญหาและ
อุปสรรคในการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ชุมชนส่วนใหญ่ให้
ความส าคัญน้อยต่อการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีรายได้น้อย จึงให้ความส าคัญกับ
การหารายได้มาเลี้ยงดูครอบครัวมากกว่าการให้ความร่วมมือในการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ปล่อยให้
เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาเป็นหลัก สังคมชุมชนและผู้ปกครองให้ความส าคัญกับการศึกษาด้านศาสนา
มากกว่าการศึกษาด้านวิชาการ นอกจากนั้นแล้ว ภาครัฐยังให้ความส าคัญกับกลุ่มเยาวชนสร้างสรรค์น้อย
โดยเฉพาะการสนับสนุนงบประมาณในการด าเนินกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนอย่างทั่วถึง และข
หลากหลาย ขาดการสนับสนุน หรือช่องทางในการเข้าร่วมด าเนินกิจกรรมของภาครัฐ แม้ว่าในปัจจุบัน
จะมีการเปิดรับมากขึ้น แต่ก็ยังไม่ทั่วถึงหรือบางกิจกรรมยังไม่สอดคล้องกับสิ่งที่กลุ่มเยาวชนต้องการ
และในด้านความต้องการการพัฒนา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นสอดคล้องไปในแนวทาง
เดียวกัน ที่ต้องการรับการพัฒนาศักยภาพเยาวชนผ่านกลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคง ด้วยการให้รัฐบาล
ก าหนดนโยบายที่ชัดเจน ปฏิบัติจริงจัง ต่อเนื่อง มีหน่วยงานเฉพาะรองรับ ติดตามประเมินผล สนับสนุน
เงินงบประมาณที่จ าเป็นในการส่งเสริมโครงการด้านการศึกษา การจัดกิจกรรมและการฝึกอบรม และ
ต้องการให้มีการคัดเลือกนักศึกษาและผู้ฝึกสอนที่มีคุณสมบัติพร้อมในการเข้าร่วมโครงการฯ รวมทั้ง
ต้องการให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส าคัญ ให้การส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินการ สอดคล้องกับความ
ต้องการของภูมิภาคและบริบทในแต่ละพื้นที่
นอกจากนั้นแล้วได้มีการเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้โดยใช้กลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคงที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่
เสนอให้ภาครัฐที่รับผิดชอบด้านการศึกษาจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของเยาวชนในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้เพียงพอและทั่วถึง และเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ร่วมเสนอโครงการที่เป็นความ
ต้องการในแต่ละพื้นที่เพิ่มบทบาทให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้รวมถึง
หน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ควรให้ความส าคัญ
กับการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้และควรมีการจัดกิจกรรมสนับสนุน
การพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ และเพิ่มพูนนวัตกรรมทางความคิดให้กับเยาวชน
ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย เห็นควรให้มีการก าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนา
ศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงก าหนดโครงสร้างการบริหารการพัฒนาศักยภาพ
เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้กลไกการศึกษาเพื่อความมั่นคงที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างชัดเจน และนโยบายดังกล่าวควรมีความต่อเนื่อง โดยก าหนดเป้าหมายและ
แผนการพัฒนาเยาวชนเป็นแผนระยะสั้น เร่งด่วน ระยะปานกลาง และระยะยาวที่สอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์ชาตินอกจากนั้นแล้ว ควรมีกระบวนการปรับปรุง พัฒนาระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่
เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ รวมถึงก าหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนาเยาวชนให้มี
ความชัดเจนและเป็นเอกภาพควรมีกลไกที่ชัดเจนในการสนับสนุน ประสานงาน ติดตาม
กระบวนการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้กลไกการศึกษาเพื่อความ
มั่นคงที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ควรสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ศักยภาพเยาวชนระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ตามบริบทของพื้นที่
ควรสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพเยาวชนระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
และภาคประชาชน ตามบริบทของพื้นที่ควรมีการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐาน
ในบริบทของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้มีทักษะทางวัฒนธรรมในการอยู่ร่วมกัน
มีความตระหนัก และรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริมสันติสุขให้คงอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
และสังคมไทยโดยรวมค
abstract:
Title Guidelines for Developing Youth Potential in the Southern Border
Provinces, using Educational Mechanisms for Stability in Alignment with
the Context of the Southern Border Provinces
Field Strategy
Name Colonel Manit Paopongchan Course NDC Class 65
The main objectives of this research are: 1) to study the situation related
to youth and the need for youth development; 2) To study barriers to youth
potential development in the southern border provinces; 3) To determine guidelines
for youth potential development in the southern border provinces by using security
education mechanisms that are in line with the context of the southern border
provinces. We studied the literature review together with various theories related to
youth potential development in the southern border provinces from lessons learned
from successful models, including policies, plans, documents, instructions, and
related research. By conducting qualitative studies on a case-by-case basis. Select a
specific sample from the field data collected by interview. The data were collected
from interviews with three groups of samples, including youth in the southern border
provinces who received formal education; Informal and informal education Model
youth groups and teachers and educational personnel. Wisdom Teachers, Civil
Society A total of 25 children, youth and stakeholders analyzed the data to propose
ways to develop youth potential in the southern border provinces by using security
education mechanisms that are in line with the context of the southern border
provinces.
The study found that the situation involving youth in the three southern
border provinces directly impacted the educational development of youth.
Confronting unrest in the three southern border provinces, youth have difficulty
accessing education and government services. Youth are disadvantaged due to poor
families. Political instability has led to conflict and violence in the area, and
economic poverty has led young people to shift their choice from education to
careers. Misrepresentation of facts Including incubation, affecting the concept.
Obstacles to education developmentObstacles to youth potential development in
the southern border provinces. From interviews with the samples, the conditions of ง
problems and obstacles in youth potential development in the southern border
provinces were as follows: Most communities place little importance on youth
potential development. Most parents are low-income and therefore prioritize earning
money to support their families rather than cooperating in youth development.
Leave it to the school. Society, communities and parents place more emphasis on
religious education than academic education. Other than that, The government also
places little emphasis on creative youth groups, especially the financial support for
the implementation of youth capacity development activities in a comprehensive
and diverse manner. Although there is now more exposure, it is not thorough or
some activities are not in line with what the youth group wants. The population and
sample were aligned in the same way. To develop the potential of youth through
education mechanisms for security by allowing the government to set clear policies.
Take it seriously. continue There is a dedicated unit to support monitoring and
evaluating the results. Support the budget necessary to promote educational
projects. We also want to select qualified students and trainers to participate in the
project, as well as key stakeholders to promote and support the implementation in
accordance with the needs of the region and the context in each area.
In addition, guidelines for youth capacity development in the southern
border provinces have been proposed by using security education mechanisms that
are in line with the context of the southern border provinces, namely, proposing that
the government responsible for education allocate sufficient and thorough budgets
to support youth activities in the southern border provinces, and provide
opportunities for youth to propose projects that meet the needs in each area to
increase the role of youth in the development of the southern border provinces. The
private sector, civil society, and the public sector should focus on youth capacity
development in the southern border provinces. Developing the potential of youth in
the southern border provinces to develop skills, learning, and enhance innovation in
youth.
Policy Recommendations It is appropriate to formulate policies and
strategies for youth potential development in the southern border provinces, as well
as to establish a management structure for youth potential development in the
southern border provinces by using security education mechanisms that clearly
correspond to the context of the southern border provinces. And such policies
should be continuous. The goals and youth development plans are short-term,
urgent, medium-term and long-term plans that are in line with the national strategic
plan.จ