เรื่อง: การเปลี่ยนกลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยวไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก นาฬิกอติภัค แสงสนิท
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การปรับเปลี่ยนกลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย พันเอก นาฬิกอติภัค แสงสนิท หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษากระบวนการพัฒนากลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทยที่ใช0
มาจนถึงป1จจุบัน วิเคราะหประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทย และ
เสนอแนะแนวทางในการปรับเปลี่ยนทิศทางในการพัฒนากลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทยในมุมมองของ
ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให0สามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงได0อยางมีประสิทธิภาพ โดยใช0การวิจัย
เชิงคุณภาพในการเก็บข0อมูลด0วยการสัมภาษณผู0แทนภาครัฐและผู0ประกอบการภาคเอกชนในอุตสาหกรรมการ
ทองเที่ยวไทย (In-depth Interview)
ผลการวิจัยพบวา กระบวนการพัฒนากลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทย มีการวิเคราะหสภาวะ
แวดล0อมและสถานการณการทองเที่ยวโลก อาเซียนและไทย แผนยุทธศาสตรการทองเที่ยวอาเซียนและไทย
แผนกลยุทธการตลาดการทองเที่ยวอาเซียน และกฎหมายของไทย โดยหนวยงานในสังกัดกระทรวง
การทองเที่ยวและกีฬารับผิดชอบหลักในการพัฒนากลยุทธและรูปแบบของกลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทย
ซึ่งอาศัยความรวมมือของภาครัฐ ทั้งสวนกลางและสวนท0องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน ในการสะท0อนข0อมูล
ทั้งด0านอุปสงคและด0านอุปทานทางการทองเที่ยว และมีการทบทวนเปIนรายปJ
กลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทยดังกลาวมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง เพราะสามารถ
ตอบสนองตอนโยบายรัฐบาลได0 แตหนวยงานรับผิดชอบหลักต0องดําเนินงานรวมกับภาคสวนตางๆ
อยางใกล0ชิดมากขึ้น โดยเฉพาะภาคเอกชนและชุมชน เพื่อให0ได0ข0อมูลที่ทันสมัย ถูกต0อง รอบด0าน และ
ให0ความสําคัญกับ Market Segment ในด0านพฤติกรรมและด0านลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยว
ให0มากขึ้น ทั้งในระดับบุคคลและระดับกลุม
สําหรับประเด็นประสิทธิผล กลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทยที่ผานมาสามารถเพิ่มรายได0และ
จํานวนนักทองเที่ยวให0สูงขึ้น รวมทั้งกระตุ0นให0เกิดการขยายตัวของสถานประกอบการที่พักและผู0เข0าพัก
การขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจําปJ(GDP) และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ยอม (SMEs) อยางตอเนื่อง ในขณะเดียวกันก็สงเสริมให0ประเทศไทยและจังหวัดทองเที่ยวหลักของประเทศ
อาทิ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม และภูเก็ต ได0รับรางวัลด0านการทองเที่ยวเปIนประจํา
แนวทางในการปรับเปลี่ยนทิศทางในการพัฒนากลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทยให0สามารถ
ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงได0อยางมีประสิทธิภาพ ต0องให0ความสําคัญกับนักทองเที่ยวกลุมคุณภาพ และ
การจัดการด0านสังคมและสิ่งแวดล0อมมากขึ้น เพื่อสร0างความสมดุลระหวางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล0อม
โดยยึดแนวการทองเที่ยวเชิงสร0างสรรค การทองเที่ยวที่เปIนมิตรกับสิ่งแวดล0อม และการทองเที่ยวอยางมีความ
รับผิดชอบ เป\ดโอกาสให0ภาคสวนตางๆมีสวนรวมอยางแท0จริง ทั้งภาครัฐสวนกลางและสวนท0องถิ่น
ภาคเอกชน และชุมชน ตามแนวทาง Co-Creation ของผู0วิจัย เน0นการตลาดเชิงรุกและผานระบบออนไลน
พัฒนานักการตลาดการทองเที่ยวให0มีความรู0ความสามารถในการจัดทํากลยุทธการตลาดการทองเที่ยวไทย
ในระดับตางๆ รวมทั้งนําเสนอ Theme การทองเที่ยวไทยที่สอดคล0องกันระหวางระดับประเทศ ระดับภาค
และระดับพื้นที่
abstract:
ก
Abstract
Title: Adjusting Thai Tourism Marketing Strategies
Field: Economics
Name: Colonel Nalikatibhag Sangsnit, Ph.D. Course NDC Class 57
The objectives of this research are to study the process in Thai tourism marketing
strategic development in use up to the present time, to analyze the efficiency and
effectiveness of Thai tourism marketing strategies and to propose guidelines in adjusting the
direction in Thai tourism marketing strategic development from the perspectives of the public
and private sectors, so as to be able to respond efficiently to changes, by using qualitative
research in data collection through in-depth interviews of representatives in the public sector
and operators in the private sector in Thai tourism industry.
Research results found that in the process of Thai tourism marketing strategic
development, analyses are made of the environment and situation of world, ASEAN and Thai
tourism, strategic plans for ASEAN and Thai tourism, strategic plans in ASEAN tourism marketing
and Thai legislations with agencies under the jurisdiction of the Ministry of Tourism and Sports
taking main responsibilities in developing strategies and forms of Thai tourism marketing
strategies, depending on cooperation of the public sector, both central and local agencies, the
private sector and communities in reflecting information on both tourism supply and demand,
with annual revision made.
Such marketing strategies of Thai tourism are efficient at a certain level, as they
can respond to government policies, but main responsible agencies must work more closely
with various sectors, especially private and community sectors, so as to obtain up-to-date,
correct and comprehensive information, and to attach more importance to market segments in
terms of behaviors and population characters of tourists, both at individual and group levels.
As for the effectiveness of Thai tourism marketing strategies in use so far, they are
found to raise incomes and tourist numbers, stimulate the expansion of accommodations and
customers, as well as continuous expansion of GDP and SMEs. At the same time, Thailand and
major tourist cities of the country such as Bangkok, Chiang Mai and Phuket have been
promoted with regular tourism awards.
For the guidelines in the adjustment of direction in Thai tourism marketing strategic
development to be efficiently responsive to changes, more importance must be attached to
quality tourists, as well as social and environmental management, so as to create a balance
among economic, social and environmental aspects, by adhering to creative tourism, low
carbon tourism and responsible tourism, opening to real participation of various sectors, public
sector, both central and local agencies, private sector, and communities along the Co-Creation
guideline of the researcher, with the emphasis on proactive marketing and through the on-line
system, developing tourism marketers with knowledge and ability in formulating Thai tourism
marketing strategies at various levels, as well as presenting harmonized Thai tourism themes at
national, regional and local levels.