เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมการออมอย่างยั่งยืนภายใต้การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการเงินและยุคดิจิทัล, (วปอ.9900)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายพิพัฒน์พงศ์ โปษยานนท์, (วปอ.9900)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการส่งเสริมการออมอย่างยงั่ ยืนภายใตก
้
ารเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีทางการเงินและยุคดิจิทัล
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นาย พิพัฒน์พงศ์ โปษยานนท์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65
ปัญหาการออมในระดบั ต่ าของประเทศไทยเริ่มรุนแรงข้ึนในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา
ซึ่งท าให้ภาคครัวเรื อนมีความอ่อนไหวต่อเหตุการณ์ไม่คาดคิด และมีข้อจ ากัดในการรับมือกับ
โครงสร้างประชากรที่ก าลังก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุแบบสุดยอด ดงัน้ัน ผู้วิจัยจึงจัดท าเอกสารวิจัยฉบับนี้
ข้ึนเพื่อวัตถุประสงค์3 ด้าน ประการแรก คือ เพื่อศึกษาสถานการณ์การออมของครัวเรือน โดยผล
การศึกษาพบว่า แม้ยอดคงคา้งเงินออมและการลงทุนของครัวเรือนปรับเพิ่มข้ึนในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา
แต่หากมองในมิติครัวเรือนรายย่อยจะพบว่า สัดส่วนการออมต่อรายได้ทยอยปรับตัวลงจากอดีต และ
ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมใช้จ่ายก่อนออมซึ่งท าให้มีโอกาสเกิดปัญหาทางการเงินด้านอื่นๆ ตามมา
สถานการณ์การออมในระดับต ่าข้างต้นน ามาสู่วัตถุประสงค์ในข้อถัดมา คือเพื่อวิเคราะห์
ปัญหาและอุปสรรคในการออม โดยพบว่า ปัญหาการออมสามารถเกิดข้ึนในทุกกลุ่มรายได้หากไม่มี
วินัยและการวางแผนทางการเงินที่ดีนอกจากนี้ครัวเรือนไทยส่วนใหญ่ไม่สามารถเก็บออมได้อย่าง
สม ่าเสมอและขาดหลักประกันในการออมระยะยาวรองรับวัยเกษียณรวมถึงยังมีปัญหาในด้านอื่นๆ
นอกเหนือจากการออม ท้งัในเรื่องภาระรายจ่าย หนี้สิน และระดับทักษะทางการเงินด้วยในเวลาเดียวกัน
จากการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคข้างต้น น ามาสู่วัตถุประสงค์สุดท้ายของงานวิจัย
ได้แก่ การเสนอแนะเชิงนโยบาย โดยในส่วนของภาครัฐและผู้ก ากับดูแลภาคการเงินน้ันควรให้
ความส าคัญกับการดูแลเสถียรภาพเศรษฐกิจและระบบการเงิน ซึ่งจะส่งผลดีต่อรายได้ประชากร
นอกจากนี้ภาครัฐควรเร่งเดินหน้าพัฒนาระบบการออม และเตรียมความพร้อมการออมเพื่อการเกษียณ
ซึ่งเป็นวาระแห่งชาติที่รัฐบาลให้ความส าคัญ เนื่องจากไทยก าลงัก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุในข้ันที่รุนแรง
โดยควรดึงหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาวางนโยบายส่งเสริมและแก้ไขปัญหาทางการเงินของภาค
ครัวเรือนร่วมกัน ส่วนข้อเสนอแนะส าหรับผู้ให้บริการทางการเงินน้ัน ผู้ให้บริการทางการเงินสามารถ
เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการที่ปรึกษาและน าเสนอผลิตภัณฑ์การออมและการลงทุนให้ครอบคลุม
ทุกกลุ่มลูกค้าผ่านช่องทางออนไลน์ซึ่งจะมีต้นทุนการให้บริการที่ต ่ากว่าช่องทางสาขา อีกท้งัสามารถ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับพฤติกรรม ความเสี่ยง และความต้องการของลูกค้าได้ โดย
ข้อเสนอแนะและแนวทางท้งัหมดน้ีเพื่อให้สามารถส่งเสริมการออมของครัวเรือนได้อย่างยงั่ ยืนข
abstract:
Title Guidelines for Promotion of Sustainable Savings under the Ever-Evolving
Financial Technology in the Digital Era
Field Economics
Name Mr. Pipatpong Poshyanonda Course: NDC Class 65
The problem of low savings in Thailand has become increasingly severe over the past
several decades. This has made households vulnerable to unexpected events and limited their ability to
cope with the advent of the super-aged soceity. Therefore, this research has been prepared to meet three
objectives. Firstly, it is intended to study the situation of households’ savings. The study found that
although the total amount of households’ savings and investments has increased over the past several
years, when examined at the individual household level, the proportion of savings to income has
gradually declined from the past. Moreover, most households tend to prioritize spending over saving,
leading to potential financial problems in other areas.
The aforementioned situation of low savings leads to the next objective, which is to
analyze the problems and obstacles in saving. It was found that saving issues can occur in every income
group if there is a lack of discipline and good financial planning. Additionally, the majority of Thai
households are unable to save consistently and lack long-term savings for retirement. Furthermore, there
are other issues beyond savings, including burdensome expenses, debts, and a lack of financial literacy.
Given the aforementioned problems and challenges, the paper offers policy
recommendations for involved parties, in order to promote sustainable savings and well-beings of Thai
households. For authorities and supervisory bodies, they should put priority on steering economic and
financial system stability, which should then result in more stable revenue streams of general populace.
Moreover, the authorities should endorse savings issues among their top national agenda and bring all
involved parties to concertedly map out appropriate plans to tackle these issues, as Thailand has entered
into a more severe stage of aging society. As for financial service providers, they should increase their
service efficiency, especially in an area of more tailored-made financial advisors and savings and
investment products that suit different risk appetite and behavior of each customer segment. Online
channels are suggested, in order to help reduce operation costs and increase inclusion over the long term.ค