เรื่อง: การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนงานเตรียมความพร้อม สำหรับการบริหารจัดการน้ำกรมชลประทาน, (วปอ.9897)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายพิเชษฐ รัตนปราสาทกุล, (วปอ.9897)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนงานเตรียมความพรอมสําหรับการบริหาร
จัดการน้ําของกรมชลประทาน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นายพิเชษฐ รัตนปราสาทกุล หลักสตูร วปอ. รุนที่ 65
การศึกษาวิจัยเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนงานเตรียมความพรอมสําหรับการ
บริหารจัดการน้ําของกรมชลประทาน เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) รวมกับใชการ
วิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษากระบวนงานเตรียมความ
พรอมในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา (2) ศึกษาวิเคราะหปญหาและปจจัยที่มี
ผลตอการพัฒนากระบวนงาน แนวทางบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ตามแผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ
แหงชาติฉบับที่ 13 และ (3) เสนอแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนงานเตรียมความพรอมสําหรับ
การบริหารจัดการน้ําของกรมชลประทาน การวิจัย ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลทุติยภูมิจากหลายแหลง
สวนขอมูลปฐมภูมิ ใชการสัมภาษณเชิงลึกจากผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการชลประทานดานการออกแบบ
การกอสราง และการบริหารจัดการน้ํา เพื่อใหไดขอมูลที่เที่ยงตรงและนาเชื่อถือ การวิเคราะหขอมูล
ผูวิจัยไดทําการรวบรวมและจัดระเบียบขอมูล จากนั้น ทําการวิเคราะหขอมูลโดยแบงตามปจจัย 3 ดาน
คือ ดานวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับตัวชี้วัดของกรมชลประทาน ดานการบริหารจัดการน้ํา และดานการ
มีสวนรวมของประชาชน
สรุปผลการวิจัย พบวา การปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแหงชาติฉบับ
ที่ 13 ซึ่งระบุคาเปาหมายใหระบบชลประทานมีประสิทธิภาพไมต่ํากวารอยละ 75 เมื่อสิ้นสุดแผนฯ
พบวา มี 3 ปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติงานของกรม ไดแก ปจจัยดานวิศวกรรม ประกอบดวย
การศึกษาความเหมาะสมของโครงการ การสํารวจสภาพภูมิประเทศ ธรณี และปฐพีวิทยา การ
ออกแบบ และการกอสราง ปจจัยดานการบริหารจัดการน้ํา พบวา การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ
ชลประทาน ตองพิจารณาที่ประสิทธิภาพการสงน้ํา (Water Conveyance Efficiency) ตามหลักการ
ชลประทาน ปจจัยดานการมีสวนรวมของประชาชน เจาหนาที่และกลุมผูใชน้ําตองรวมกันบริหาร
จัดการน้ําและยกระดับความเขมแข็งของกลุมผูใชน้ํา สําหรับแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
กระบวนงานเตรียมความพรอมสําหรับการบริหารจัดการน้ําของกรมชลประทาน ตองนิยามคําวา
“ประสิทธิภาพของระบบชลประทาน” หมายถึง ประสิทธิภาพการสงน้ํา (Water Conveyance
Efficiency) ตามหลักการชลประทาน ระบบชลประทานเดิมใชการมีสวนรวมของประชาชนชวยกัน
ดูแลรักษา ระบบชลประทานที่จะกอสรางใหมควรเลือกรูปแบบใหสอดคลองกับสภาพภูมิสังคม ข
abstract:
Title Efficiency Improvement in Preparation Process of RID Irrigation
Management
Field Science and Technology
Name Mr. Pichet Rattanaprasadkul Course NDC Class 65
The study of efficiency improvement in preparation process of RID (Royal
Irrigation Department) irrigation management is qualitative research in conjunction with
descriptive research method with the objectives to (1) study current preparation
process in order to increase irrigation system efficiency, (2) analyze problem and
obstacle factors that affect process improvement and irrigation management
procedure in alignment with the 13th National Economic and Social Development Plan
(2023-2027), and (3) propose guideline for an efficiency improvement in preparation
process of RID irrigation management. Study method: researcher has collected
secondary data from several sources. In addition, primary data were collected, in order
to achieve accurate and reliable information, by in-depth interview with irrigation
management stakeholders including engineering design, construction, and irrigation
management units. Data analysis: researcher has collected and organized data before
analyzing them based on 3 aspects including technical-engineering aspect, irrigation
management aspect, and public participation aspect.
Research conclusion revealed that in order for RID to achieve the target
indicated in the 13th National Economic and Social Development Plan, which was to
have Irrigation System Efficiency not less than 75 percent, it had to take into account 3
dominant factors (1) technical-engineering factors including project feasibility study,
topographical and geotechnical survey, engineering design, and construction (2)
irrigation management factor focusing on the clarification of definition of “Irrigation
System Efficiency Improvement” as “Water Conveyance Efficiency Improvement”
according to irrigation principle (3) participatory irrigation management (PIM) factor
meaning that RID officers and water user groups (WUGs) must adopt PIM method and
continually enhance strength of WUGs. With regards to the efficiency improvement in
preparation process of RID irrigation management, an explicit definition of “Irrigation
System Efficiency” as “Water Conveyance Efficiency” was crucial as it was the right
technical-engineering term according to irrigation principle. Current water management
system relied on PIM where minor irrigation system maintenance was done by water
users. Future irrigation projects should therefore take into account practices that
integrate socio-geography of local community into water management.ค