เรื่อง: แนวทางการจัดการความขัดแย้งด้วยกระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธีของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย, (วปอ.9889)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจโท พงษ์ธร ธัญญสิริ, (วปอ.9889)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการจัดการความขัดแย้งด้วยกระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
ของหน่วยงาน บังคับใช้กฎหมาย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พันต ารวจโท พงษ์ธร ธัญญสิริ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษา เรื่อง แนวทางการจัดการความขัดแย้งด้วยกระบวนการ
สมานฉันท์และสันติวิธีของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 -
2580) ที่ส่งเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชุมชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในกระบวนการยุติธรรมและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ
พ.ศ.2560 – 2563 ที่เน้นกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และสันติวิธี ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษากฎหมาย รูปแบบ กลไกของการจัดการความขัดแย้งของหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายของ
ประเทศไทยทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และศึกษาแนวคิด วิธีการ และรูปแบบการจัดการความ
ขัดแย้งที่เหมาะสมในการเสริมสร้างความสมานฉันท์ด้วยการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
ผลการศึกษา พบว่า การจัดการความขัดแย้งด้วยกระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธีของหน่วยงาน
บังคับใช้กฎหมาย (1) การขยายบทบาทของอัยการให้มากขึ้นในการจัดการความขัดแย้ง โดยเพิ่ม
บทบาทการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน (2) การขยายบทบาท
การไกล่เกลี่ยในชั้นพนักงานสอบสวน โดยจะต้องด าเนินการก่อนที่จะมีการรับเป็นคดีความหรือเข้าสู่
ระบบคดี (3) การขยายบทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้านที่ในพื้นที่ต่างจังหวัดและเป็นพื้นที่นอก
เขตเมือง โดยให้มีความเชื่อมต่อกับศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอ กระทรวงมหาดไทย (4) การขยายบทบาท
ของศูนย์ยุติธรรมชุมชน ของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม โดยให้มีกฎหมาย
ออกมารองรับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยเฉพาะ (5) การขยายบทบาทของศูนย์ไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทชุมชน
ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม โดยให้รองรับตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ย
ข้อพิพาท พ.ศ. 2562 มากขึ้นข
abstract:
Title The Conflict Resolution through the Restorative Justice and
Peaceful Resettlement by Thai law enforcement and legal authorities
Field Social - Phycology
Name Phongthon Thanyasiri Course NDC Class 65
This research study shows the findings about “the Conflict Resolution through
the Restorative Justice and Peaceful Resettlement by Thai law enforcement and legal
authorities”. This application for restorative justice and peaceful conflict resolution is in
line with the national strategy (2018 - 2037) that promotes an alternative justice system,
community justice, and public participation in the justice system. In addition to the
strategic plan, the application is also settled in according to the 2017-2020 National
Reconciliation Strategic Plan which emphasizes the role of restorative justice and peaceful
resettlement. The objective of this research is to study the relevant laws and regulations,
patterns and mechanisms of conflict resolution, methods, and appropriate conflict
management models in enhancing reconciliation through peaceful conflict management
under the operation of law enforcement agencies and legal authorities throughout the
country both in the central and provincial areas. The results of the study found that (1)
the prosecutor should participate more in the community mediation; (2) The police should
do more in the mediation process prior to the case being accepted into a lawsuit or
entering the case to the criminal justice; (3) The village committee should be another
active actor for mediation who works together with the Damrongtham District Center of the
Ministry of Interior in provincial and non-urban areas; (4) the Community Justice Center by
the Ministry of Justice should hold more legal authorities in conflict resolution and dispute
mediation according to the new law come out to support their operation; and (5) the Right
and Liberties Protection Department should enhance the coverage and the number of
regulated mediator through the role of the community dispute mediation center under the
Conciliation Act B.E. 2562 (2019). ค