Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการภาวะวิกฤติของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา โดยระบบบัญชาการเหตุการณ์ การศึกษาอุทกภัยในพื้นที่ภาคตัวีนออกเฉียงเหนือ, (วปอ.9880)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี หม่อมหลวง ประวีร์ จักรพันธุ์, (วปอ.9880)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการภาวะวิกฤติของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา โดยระบบบัญชาการเหตุการณ์ กรณีศึกษาอุทกภัยในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรีหม่อมหลวง ประวีร์ จักรพันธุ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาอุปสรรค และข้อจ ากัดในการจัดการ ภาวะวิกฤติ ของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กรณีศึกษาอุทกภัยในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาใช้ในการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการภาวะวิกฤติ ของหน่วย บัญชาการทหารพัฒนา โดยระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการภาวะวิกฤติของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา โดยระบบบัญชาการเหตุการณ์ โดยการใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นหลักส าหรับเทคนิควิธีวิจัยที่น ามาใช้ได้แก่การวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่มผู้ช านาญการและหัวหน้าส่วนราชการ บุคลากรของ ส่วนราชการจังหวัดผู้มีประสบการณ์ที่ท างานร่วมกับส านักงานพัฒนาภาค 2 หน่วยบัญชาการทหาร พัฒนาโดยตรงเป็นผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ผลการวิจัยพบว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่าง รวดเร็วในปัจจุบันท าให้เห็นชัดว่าแนวโน้มสถานการณ์สาธารณภัยจะมีความรุนแรงมากขึ้นอย่างไม่ สามารถคาดการประเมินได้ชัดเจน ผลกระทบคือการคุกคามต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและ ของประเทศ โดยปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการภาวะวิกฤติ ของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา โดยระบบ บัญชาการเหตุการณ์ คือการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบตั้งแต่ขั้นการวางแผน การวิเคราะห์พื้นที่ ปฏิบัติการหรือพื้นที่ประสบภัย รวมถึงก าลังพลและยานพาหนะ เครื่องมือช่างส าหรับการช่วยเหลือ บรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้มีการบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและไม่ปฏิบัติงานซ้ าซ้อน ท าให้ทราบแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการภาวะวิกฤติของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา โดยระบบบัญชาการเหตุการณ์ สามารถน าเสนอได้ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติ โดยเป็น 1 แนวทางทั่วไปที่ ควรด าเนินการเป็นแนวทางหลัก คือ แนวทางการน าก าลังและยุทโธปกรณ์เข้าแก้ไขสถานการณ์ โดยทั่วไป ของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย ส านักงานพัฒนาภาค (สนภ.) และชุดบรรเทาสาธารณภัย เคลื่อนที่เร็ว หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ (นพค.) และ 2. แนวทางเสริมประสิทธิภาพระบบบัญชาการ เหตุการณ์ตามบริบทของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ที่มีภารกิจเป็นหน่วยงานพัฒนาประเทศและ ช่วยเหลือประชาชนรวมถึงแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของประเทศ ด้วยกระบวนการจัดการสาธารณภัย ที่เหมาะสมต่อการด าเนินการของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนาข

abstract:

Title Crisis Management Efficiency of the Armed Forces Development Command by the incident command system A case study of flooding in the the Northeast of Thailand. Field Military Name Maj. Gen. M.L. Pravee Chakrabandhu Course NDC Class 65 The purpose of this research was to study the problems and limitations of Crisis Management Efficiency of the Armed Forces Development Command by the incident command system A case study of flooding in the the Northeast of Thailand. The data obtained from the study were used to analyze factors affecting crisis management of the Armed Forces Development Command by the incident command system by using qualitative research methods Mainly for the research techniques used, namely document research together with in-depth interview and group discussions with experts and heads of government agencies Personnel of the provincial government who have experience working with 2nd Regional Development Office. The results showed that The current rapid climate change has made it clear that the likelihood of catastrophic situations will become unpredictably more sever .The effect is a threat to the lives and property of people and the country by factor are Systematic management from the planning stage Analysis of operational areas or affected areas including personnel and vehicles Tools for disaster relief assistance In order to have efficient resource management and do not perform redundant tasks. make them aware of ways to increase the efficiency of crisis management of the Armed Forces Development Command that it can be presented in 2 practical steps. First The general guidelines that should be taken as the main guidelines are the guidelines for bringing forces and equipment to solve the situation in general of the disaster relief center . Second contextual Incident Command System Efficiency Guidelines of the Armed Forces Development Command whose mission is to develop the country and help the people, including solving the country's urgent problems with appropriate disaster management procedures.ค