Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการสร้างทักษะแห่งอนาคตของประเทศไทยเพื่อรองรับเศรษฐกิจรูปแบบใหม่, (วปอ.9874)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายปณิธาน ปวโรฬารวิทยา, (วปอ.9874)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาทักษะแหงอนาคตของประเทศไทยเพื่อรองรับเศรษฐกิจ รูปแบบใหม ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายปณิธาน ปวโรฬารวิทยา หลักสูตร วปอ. รุนที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาและสํารวจความตองการทักษะแหง อนาคตของประเทศไทย ศึกษาวิเคราะหและเปรียบเทียบแนวทางการแกไขปญหาการขาดแคลน ทักษะแหงอนาคตของตางประเทศ และหาแนวทางในการสรางทักษะแหงอนาคต ที่เหมาะสมกับ บริบทของประเทศไทย เพื่อนําเสนอใหหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมี ขอบเขตของ การวิจัย ดังนี้ ดานเนื้อหา ศึกษาปญหาของการขาดแคลนทักษะที่จําเปนตอเศรษฐกิจในชวง 2022- 2030 ของประเทศไทยและ ศึกษาวิธีการแกปญหาในประเทศที่เริ่มนํารองในการแกปญหาไปแลว บางสวน ดานประชากรและพื้นที่ โดยสํารวจความตองการทักษะแรงงานจากผูประกอบการ ในสภา หอการคา สภาอุตสาหกรรม ในทุกขนาดตั้งแต ขนาด เล็กมาก ขนาดเล็ก กลาง และใหญ และ ผูทํางานอิสระในประเทศไทย และการผูบริหารสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ดานระยะเวลา ผูวิจัยทําการศึกษาวิจัยตั้งแตเดือน ธันวาคม 2565 - พฤษภาคม 2566 ผลการวิจัยพบวา ทักษะแหงอนาคต จะขึ้นอยูกับชนิดของเศรษฐกิจในอนาคต ที่จะ ตองการลักษณะงานในเศรษฐกิจนั้น ๆ นํามาสูทักษะที่ตองใชในเศรษฐกิจที่กําลังเปลี่ยนแปลงใน อนาคต กลุมทักษะที่มีความตองการสูงสุดคือ กลุมทักษะการเรียนรู (cognitive skills cluster) รองลงมา คือ ทักษะการตระหนักรูในความสามารถของตน (Self Efficacy) แนวทางการพัฒนาทักษะแหงอนาคต ประเทศเกาหลีใต, ฝรั่งเศส และ สิงคโปร พบวาทั้ง 3 ประเทศ มีการจัดตั้งหนวยงานที่เปนศูนยกลาง การพัฒนาทักษะของประชากรในประเทศอยางเฉพาะเจาะจง โดยมีการมุงเนนที่จะสนับสนุนให ประชากรในแตละประเทศเหลานี้ มีการเรียนรูตลอดชีวิต ผานการบูรณาการของสถาบันการศึกษา สถานประกอบการ บริการจัดหางาน บริการใหคําปรึกษาในการพัฒนา เพื่อเขาสูอาชีพใหมๆ มีการ กําหนดนิยามของแตละทักษะที่ตองการอยางชัดเจน จนสามารถทํา ธนาคารทักษะ เพื่อใหแตละ ปจเจกบุคคลสามารถสะสม และมีการรับรองความสามารถ ที่ทําใหตอยอดใหมีความสามารถที่ สถาน ประกอบการตองการได ขอเสนอแนะของการวิจัยครั้งตอไป คือ 1. ทําการสํารวจทักษะเพิ่มเติมใน กลุมเศรษฐกิจใสใจ Care Economy โดยใชกรอบการแบงทักษะที่สอดคลองกับ รายงานของ World Economic Forum เพื่อสํารวจวา ประเทศไทยมีตนทุนเดิม ของกลุมเศรษฐกิจนี้เพียงพอหรือไม และ ควรจะเพิ่มเติมทักษะอะไร ดวยกลไกอยางไร 2. การวิจัยกลุมสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ในดาน ขอจํากัดของการพัฒนาสรางหลักสูตรสําหรับทักษะตาง ๆ ทั้งดานทรัพยากร และ นโยบาย 3. ทําการ วิจัยเรื่องนิเวศนการพัฒนาทักษะ (Skill Development Ecosystem) ที่เกี่ยวของโดยตรงกับ ผูประกอบการ และสถาบันการศึกษา ข

abstract:

Title Guidelines for the Development of Future Skills in Thailand to Support the New Economy Field Social - Psychology Name Mr. Panitarn Pavarolavidya Course NDC Class 65 This research aimed to examine the issue and investigate future skill requirements in Thailand. It aimed to study, analyze, and compare approaches used to address the problem of future skill shortages in other countries. Additionally, the research sought to identify strategies for developing future skills suitable for the Thai context and present the intended audience for the findings, including relevant government and private sector entities. The research scope analyzes the skill shortage problem within Thailand's economy from 2022 to 2030 and explores solutions implemented in countries that have already initiated pilot programs to tackle similar challenges. In assessing the population and geographic coverage, the research involves surveying the labor skill demands of entrepreneurs associated with the Chamber of Commerce and the Federation of Thai Industries. This survey encompasses businesses of all sizes, ranging from very small, small, medium, and large enterprises to freelancers operating within Thailand. Additionally, input is gathered from administrators of educational institutions in the country. The research was carried out over the duration spanning from December 2022 to May 2023. The findings revealed that future skills would be contingent upon the nature of the forthcoming economy. This connection between future economies and the evolving skill requirements suggests a dynamic relationship. Notably, the Cognitive skills cluster emerged as the highest-demand skill group, followed by Self Efficacy. Upon investigating the future skills development frameworks in South Korea, France, and Singapore, it was observed that all three nations have established dedicated agencies. These agencies serve as pivotal hubs for skill development, catering to their respective populations. These agencies share a common focus on supporting lifelong ค learning through a seamless integration of educational institutions, employment services, and developmental advisory services for individuals transitioning into new career paths. The definition of each required skill is articulated so distinctly that it allows for creating a skill bank. This bank enables individuals to amass skills and acquire competence certifications, thereby granting them the capacity to meet the demands of establishments. The following research suggestions are proposed:1. Investigate additional skills within the care economy cluster using a skill stratification framework aligned with the World Economic Forum report. This exploration aims to determine if Thailand possesses sufficient original capacity within this group of economies and identify any potential deficits in required skills. Additionally, the study seeks to elucidate the operational mechanisms involved. 2. Examine educational institutions in Thailand to address limitations in skill development. This involves designing courses for diverse skills, considering resource availability and policy considerations. Finally, the policy of research concerning the skill development ecosystem directly applies to entrepreneurs and educational institutions.ง