เรื่อง: นโยบายการพัฒนาผู้ประกอบการไทยรองรับการพัฒนาสู่เศรษฐกิจภาคดิจิทัล
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง นันทพร ดำรงพงศ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง การพฒั นาผปู้ระกอบการไทยเพÉอืรองรับการพฒั นาสู่เศรษฐกิจภาคดิจิทลั
ลกัษณะวชิา วทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ
ู้วจิัย นางนนั ทพร ดาํรงพงศ ์ หลกัสูตร วปอ. รุ่นท ๕๗ ีÉ
รัฐบาลไทยได้ตระหนักถึงความสําคญั ในเรืÉองของเศรษฐกิจภาคดิจิทลั จึงได้แถลง
นโยบายต่อสภานิติบญั ญตัิแห่งชาติในส่วนของการพฒั นาศกัยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึÉงใน
ส่วนของการพฒั นาเศรษฐกิจภาคดิจิทลัว่า จะส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทลัและวางรากฐานของ
เศรษฐกิจดิจิทัลให้เรÉิมขับเคลืÉอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนÊีได้ศึกษาและวิเคราะห์
กระบวนการในการกาํหนดนโยบายในการขบั เคลÉือนเศรษฐกิจภาคดิจิทลั ในประเด็นของการพฒั นา
ดา้นต่างๆ โดยเน้นทีÉการพฒั นาผูป้ ระกอบการและศึกษาปัญหาและอุปสรรค ของภาคส่วนต่างๆ
ทีÉมีผลต่อการขับ เคลืÉอนนโยบายและศึกษาเปรี ยบแนวทางการพัฒนาของประเทศทีÉประสบ
ความสาํ เร็จในต่างประเทศ
การพฒั นาผูป้ ระกอบการตามนโยบายการพฒั นาเศรษฐกิจภาคดิจิทลั เป็นปัจจยัทีÉ
สําคญั ต่อการขับเคลืÉอนเศรษฐกิจของประเทศ การพฒั นาประสิทธิภาพของสถานประกอบการ
ด้านต่างๆ สามารถใชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศเขา้ไปมีบทบาทในทุกๆ ดา้น และนโยบายส่วนนÊีถือเป็ น
เป้าหมายทีÉจะเป็นตวั ชÊีวดัความสําเร็จ ของการพฒั นาเศรษฐกิจภาคดิจิทลั เนÉืองจากเป็นการวดั
ผลลพัธ์ของการขบั เคลÉือนเศรษฐกิจ
โดยเสนอแนวทางในการขับเคลืÉอนนโยบาย เพืÉอเพิÉมความสามารถในการแข่งขนั
(Competitiveness) และความร่วมมือของหน่วยงานภายในประเทศและกบั ต่างประเทศการปรับปรุง
ดา้นต่างๆ เพืÉอให้การขบั เคลÉือนเศรษฐกิจภาคดิจิทลัเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เกิดผลในการปฏิบตัิ
อยา่ งเป็นรูปธรรม ซึÉงประกอบไปดว้ยประเด็นเชิงนโยบายทีÉภาครัฐ ภาคการเงิน ภาคการศึกษา และ
ผูป้ ระกอบการควรเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินการ การพฒั นาความรู้ตลอดจนปัจจัยแห่ง
ความสาํ เร็จในดา้นต่างๆ ทÉีจะมีผลต่อการขบั เคลÉือนนโยบาย
abstract:
Abstract
Title Encouraging Small and Medium-sized Enterprises (SMEs) to Conduct
their business on Digital Age
Field Science and Technology
Name Mrs. Nantaporn Damrongpong Course NDC Class 57
The research was aimed to study and present developments and the
progress of various countries to point policy makers to new issues areas and to issues
for possible future works. In this new economy, digital networking and communication
infrastructures provide a global platform over which people and organizations devise
strategies, interact, communicate, collaborate and search for information. More
recently, Digital Economy has been defined as a branch of economics studying zero
marginal cost intangible goods over the net.
The study is a qualitative research by analyzing whether Thai policy versus
the developing countries would be expanded access to network, creating a marketfriendly environment for investment and competition and benefitting from convergence.
Our government will be aimed at increasing the number of entrepreneurs
and encouraging small and medium-sized enterprises (SMEs) to use digital technology
to conduct their business. Digital Technologies can play a crucial role in driving the
economy and enhancing the country’s competitiveness.