เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการสกัดกั้นการลักลอบเข้าเมืองของแรงงานต่างด้าวในเขตพื้นที่กองกำลังสุรสีห์, (วปอ.9866)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี บรรยง ทองน่วม, (วปอ.9866)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการสกัดกั้นการลักลอบเข้าเมืองของแรงงาน
ต่างด้าวในเขตพื้นที่กองก าลังสุรสีห์
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลตรี บรรยง ทองน่วม หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาแนวทางการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการสกัดกั้นการลักลอบเข้าเมืองของแรงงานต่างด้าวในเขตพื้นที่กองก าลังสุรสีห์
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การศึกษาทบทวนเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ
ในพื้นที่รับผิดชอบของกองก าลังสุรสีห์ ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาพบว่า สภาวะแวดล้อมด้านสังคม เทคโนโลยี
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม การเมือง และการทหาร ส่งผลต่อการลักลอบเข้าเมืองของแรงงานต่างด้าว
ในพื้นที่กองก าลังสุรสีห์โดยรูปแบบของการลักลอบเข้าเมืองพบได้ทั้งการเดินทางเข้ามาด้วยตนเอง
เดินทางเข้ามาโดยกลุ่มนายทุนหรือผู้ประกอบกิจการเป็นผู้น าพา และเดินทางเข้ามาโดยกลุ่มนายหน้า
เป็นผู้น าพา ส่วนกระบวนการลักลอบมีการใช้ช่องทางแนวชายแดน และการเข้าเมืองผ่านช่องทาง
ผ่านแดนถาวรอย่างถูกต้องแล้วจึงเดินทางออกจากพื้นที่ที่อนุญาตไปท างานในต าบลปลายทาง
ที่ต้องการ กองก าลังสุรสีห์ได้แบ่งพื้นที่ปฏิบัติการเพื่อสกัดกั้นการกระท าผิดกฎหมายตามแนวชายแดน
ครอบคลุมทั้งภายนอกและภายในประเทศ โดยพื้นที่ภายในประเทศแบ่งเป็นพื้นที่ต้นน้ า (บริเวณแนว
ชายแดน) พื้นที่กลางน้ า (ถัดจากบริเวณแนวชายแดน) และพื้นที่ปลายน้ า (พื้นที่ตอนในจนถึงต าบล
ปลายทาง) การด าเนินงานดังกล่าวมีจุดแข็ง-จุดอ่อนหลายประการ จุดแข็ง ได้แก่ การแบ่งพื้นที่
ความรับผิดชอบที่ชัดเจน บุคลากรมีความรู้และทักษะเพียงพอ มีการใช้เครื่องมือพิเศษ มีการบูรณาการ
หน่วยงานในพื้นที่ และการได้รับความร่วมมือจากประชาชน จุดอ่อน ได้แก่ นโยบายของรัฐบาลที่
ไม่เหมาะสม กฎหมาย/ข้อบังคับที่ขัดแย้งกัน การขาดแคลนก าลังพล วิธีการปฏิบัติงานที่ไม่เหมาะสม
การขาดการบ ารุงรักษาเครื่องมือพิเศษ การกระท าผิดของเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งการวางเฉย
ของสังคม การวิจัยนี้ชี้ให้เห็นถึงความจ าเป็นในการเพิ่มประสิทธิภาพในการสกัดกั้นการลักลอบเข้า
เมืองของแรงงานต่างด้าวในพื้นที่กองก าลังสุรสีห์โดยการปรับปรุงทั้งด้านนโยบายและมาตรการ
ด้านก าลังคนและเครื่องมือ และด้านวิธีการด าเนินงานให้มีความเหมาะสม ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์
ต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดต่อไปข
abstract:
Title Guidelines for Increasing Efficiency in Intercepting Migrant
Smuggling in the Surasi Armed Force Area
Field Strategy
Name Major General Bunyong Thongnuam Course NDC Class 65
This is a qualitative research, aiming to develop ways to increase
efficiency in intercepting illegal immigration of migrant workers in the Surasi Force
area. Data were collected using document review and in-depth interviews with key
informants in the areas of Surasi Force (Kanchanaburi, Ratchaburi, Phetchaburi and
Prachuap Khiri Khan). The results of data analysis using content analysis techniques
showed that social, technological, economic, environmental, political, and military
environments could affect the illegal entry of migrant workers in the study area.
Illegal entries were found in many forms, including arrived by migrant workers
themselves, by employers, and by brokers. Smuggling processes were both using
natural border routes and using immigration through permanent border crossings
(then leaves the permitted area to work in the desired destination district). Surasi
force divided its operations to intercept illegal activities both outside and within
country areas. The areas within the country composed of watershed area (border
area). Midstream area (next to the border area) and downstream area (inner area to
destination sub-district) . Such operations had several strengths and weaknesses.
Strengths included a clear division of areas of responsibility, personnel with adequate
knowledge and skills, using special tools, integrated local authorities, and
cooperation of public sector. Weaknesses were improper government policies,
conflicting laws/regulations, shortage of manpower, improper operational methods,
lack of maintenance of special tools, misconduct of officials and related persons, and
social inaction. This research highlights the need to increase efficiency in intercepting
migrant smuggling in the Surasi Armed Force area by improving policies and
measures, personnel, and methods. This will be beneficial to drive the development
of the national security strategy to achieve the specified goals.ค