Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: คุณลักษณะนักการเมืองที่พึงประสงค์ตามหลักธรรมาภิบาลในความคิดเห็นของข้าราชการกองทัพอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี น้อย ภาคเพิ่ม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง คุณลักษณะนักการเมืองที่พึงประสงคตามหลักธรรมาภิบาล ในความคิดเห็น ของขาราชการกองทัพอากาศ ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลอากาศตรี นอย ภาคเพิ่ม หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความคิดเห็นของขาราชการกองทัพอากาศในเขตที่ตั้ง ดอนเมืองที่มีตอคุณลักษณะนักการเมืองที่เปนจริง และที่พึงประสงค ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อนํา ผลการวิจัยเปนขอมูลในการเสนอแนะแนวทาง การสรางเสริมคุณลักษณะนักการเมืองตนแบบ ตามหลักธรรมาภิบาล กลุมตัวอยาง เปนขาราชการกองทัพอากาศในเขตที่ตั้งดอนเมือง จํานวน ๔๑๑ คน ซึ่งไดมาโดยการเลือกกลุมตัวอยางแบบโควตา (Quota Sampling) อยางเปนสัดสวน เครื่องมือที่ใชเปน แบบสอบถาม คุณลักษณะนักการเมืองที่เปนจริง และที่พึงประสงคตามหลักธรรมาภิบาลมีลักษณะ เปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เทากับ ๐.๙๙๐๘ และ ๐.๙๙๓๐ ตามลําดับ ทําการวิเคราะหขอมูล โดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way Analysis of Variance : One – Way ANOVA) ผลการวิจัยสรุปไดวา ๑. ขาราชการกองทัพอากาศในเขตที่ตั้งดอนเมืองมีระดับความคิดเห็นในภาพรวม วาคุณลักษณะนักการเมืองที่เปนจริงตามหลักธรรมาภิบาลอยูในระดับนอย (= ๒.๔๕๘๖) ซึ่ง ขาราชการที่มีชั้นยศแตกตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ สวนขาราชการที่มีระดับการศึกษา และที่มีระยะเวลาที่รับราชการแตกตางกัน มีระดับความ คิดเห็นตอคุณลักษณะนักการเมืองที่เปนจริง ตามหลักธรรมาภิบาล แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .๐๕ ๒. ขาราชการกองทัพอากาศในเขตที่ตั้งดอนเมืองมีระดับความคิดเห็นในภาพรวม วา คุณลักษณะนักการเมืองที่พึงประสงคตามหลักธรรมาภิบาลอยูในระดับมากที่สุด (= ๔.๘๐๐๑)ซ่ึงขาราชการ ที่มีชั้นยศแตกตางกัน มีระดับความคิดเห็น ตอคุณลักษณะนักการเมืองที่พึงประสงค ตามหลักธรรมาภิบาล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ สวนขาราชการที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีระดับ ความคิดเห็นตอคุณลักษณะนักการเมืองที่พึงประสงค ตามหลักธรรมาภิบาล แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และขาราชการที่มีระยะเวลาที่รับราชการแตกตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอคุณลักษณะ นักการเมืองที่พึงประสงค ตามหลักธรรมาภิบาล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๓. คุณลักษณะนักการเมืองที่พึงประสงค ตามหลักธรรมาภิบาล ที่ในความคิดของขาราชการ กองทัพอากาศ ควรนํามาแนวทางการสรางเสริมคุณลักษณะนักการเมืองตนแบบ เปนไปตามหลักธรรมาภิบาลข ทุกประการ ทั้งนี้ คุณลักษณะที่พึงประสงคที่ความตองการ และมีความจําเปนเรงดวนมากที่สุด คือ นักการเมืองที่เสียสละเห็นแกประโยชนสวนรวม/ประเทศชาติเปนหลัก นักการเมืองที่ไมเห็นแกผลประโยชน ของตนเองและพวกพอง เปยมดวยคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และตองมีความสามารถบังคับใช กฎหมายอยางเครงครัดสําหรับนักการเมืองที่ทําผิดกฎหมาย

abstract:

Abstract Title Desirable Politicians’ Characteristics in line with Good Governance in the view of the Royal Thai Air Force Personnel Field Politics Name Air Vice Marshal Noi Parkperm Course NDC Class 57 The purposes of this research were to study not only the actual but also the desirable characteristics of Thailand politicians, in accordance with Good Governance, in the view of the Royal Thai Air Force (RTAF) personnel working in the Don Muang Air Force Base, and to find out the prototype of the politician traits with suggestions to develop such personality. The instrument was the rating scale questionnaire on the RTAF personnel perception toward both the actual and desirable politician personality with the reliability of 0.9908 and 0.9930 respectively. The data was collected from 411 sample officers by way of Quota Sampling, and then statistically analyzed by percentage, mean, standard deviation and One-Way Analysis of Variance. The results found that 1. In term of the actual politician behaviors in line with the traits stated in the Good Governance, the overall level of samples satisfaction was rather low (=2.4586). The samples of different ranks held different perceptions with statistical significantly different at .01. When considering the view of those with different educational levels and with different service years, the both values were not different at 0.05. 2. Whereas, in term of the desirable politician characteristics given by the Good Governance, the overall level of samples satisfaction was very high (=4.8001). The samples of different ranks and those of different service years held different perceptions with statistical significantly different at .01 and .05 respectively. When considering the view of those with different educational levels the value was not different at 0.05. 3. The desirable traits of the model politicians should be in line with that of the GoodGovernance both overall and in aspect. However, the most urgent and much-needed characteristics were self sacrifice for the national interest, not-selfish, not for the sake of the benefits of friends and relatives, be ethical with integrity and be capable of the law enforcement to the wrong doing politicians.