เรื่อง: การสร้างมาตรการคุ้มครองการใช้ดุลยพินิจในการดำเนินคดีอาญาของอัยการ, (วปอ.9859)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายนริศ ชำนาญชานันท์, (วปอ.9859)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง การสร้างมาตรการคุ้มครองการใช้ดุลยพินิจในการด าเนินคดีอาญาของอัยการ
ลักษณะวิชาการเมือง
ผู้วิจัย นายนริศ ช านาญชานันท์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การวิจัยเรื่องนี้เกิดขึ้นเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2560 มาตรา 248 ก าหนดให้องค์กรอัยการมีหน้าที่และอ านาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
และกฎหมาย อัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปโดยรวดเร็วเที่ยง
ธรรมและปราศจากอคติทั้งปวง และได้มีการตราพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ
พ.ศ. 2553 มาตรา 21 ก าหนดให้อัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไป
ตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายโดยสุจริตและเที่ยงธรรม แต่การที่พระราชบัญญัติองค์กรอัยการ
และพนักงานอัยการ พ.ศ. 2553 มาตรา 22 บัญญัติเพียงว่าดุลพินิจของอัยการในการพิจารณา
สั่งคดีและการปฏิบัติหน้าที่ ตามมาตรา 21 ซึ่งได้แสดงเหตุผลอันสมควรประกอบแล้วย่อมได้รับ
ความคุ้มครองนั้น ยังไม่เพียงพอในการคุ้มครองการใช้ดุลยพินิจในการด าเนินคดีอาญาของอัยการ
จึงจ าเป็นต้องมีการสร้างมาตรการในการคุ้มครองการใช้ดุลยพินิจในการด าเนินคดีอาญาให้เหมาะสม
เพื่อให้อัยการมีความเป็นอิสระในการด าเนินคดีอาญาและสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้โดยปราศจาก
ความเกรงกลัวว่าจะได้รับผลร้ายหรือจะถูกกลั่นแกล้งหรือถูกฟ้องเป็นคดีอาญา คดีแพ่ง หรือคดี
ปกครองในภายหลัง ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันในการอ านวยความยุติธรรมแก่ประชาชนและรักษา
ผลประโยชน์ของชาติ ซึ่งจะส่งผลท าให้การบังคับใช้กฎหมายเกิดความเป็นธรรมตามหลัก The Rule
of Law อีกทั้งยังเป็นการด าเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) อีกด้วย
ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิโดยการศึกษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายและระเบียบค าสั่งที่เกี่ยวข้อง ค าพิพากษาฎีกา บทความ
และเอกสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับแนวทางการสร้างหลักประกันความเป็นอิสระ
ของอัยการไทยตามกติกาความร่วมมือระหว่างประเทศและตามแนวทางการสร้างมาตรการคุ้มครอง
ของอัยการสหรัฐอเมริกาและแนวทางการสร้างหลักประกันความเป็นอิสระของอัยการไทยจากหลัก
กฎหมายไทยที่ใช้บังคับกับเจ้าพนักงานอื่นที่ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายที่ให้อ านาจไว้ จากนั้นได้ท าการ
วิเคราะห์เปรียบเทียบและท าการสังเคราะห์ข้อมูลทฤษฎีหลักการต่างๆ รวมทั้งข้อมูลที่ได้จาก
การสัมภาษณ์เชิงลึกอัยการที่มีประสบการณ์สูงในการด าเนินคดีอาญาและมีทักษะในการด าเนิน
คดีจริงในทางปฏิบัติจ านวน 10 ท่าน เมื่อได้น ามาพิจารณาประกอบกับโมเดล Lykke’s Formula
ในการก าหนดยุทธศาสตร์ ท าให้พบการแก้ไขปัญหาโดยการสร้างหลักประกันความเป็นอิสระ
ของอัยการไทย ทั้งนี้ ตามที่พระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ. 2553 มาตรา 22
ก าหนดยังไม่เพียงพอในการคุ้มครองการใช้ดุลยพินิจในการด าเนินคดีอาญาและการปฏิบัติหน้าที่
ของอัยการจึงต้องท าการแก้ไข มาตรา 22 ให้มีข้อความดังต่อไปนี้คือ “ดุลพินิจของพนักงานอัยการ
ในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 21 ซึ่งได้แสดงเหตุผลอันสมควรประกอบแล้ว
ย่อมได้รับความคุ้มครองโดยไม่ให้บุคคลใดฟ้องคดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครองและคดีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องข
โดยเด็ดขาด” ผู้วิจัยหวังว่างานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถน าไปใช้ได้จริงเพราะการสร้าง
หลักประกันความเป็นอิสระในการด าเนินคดีอาญาของอัยการไทยเป็นสิ่งจ าเป็นและส าคัญยิ่ง
ในกระบวนการยุติธรรมของประเทศเพื่อให้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ในประเด็น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในสังคมและด้านการปรับสมดุลและพัฒนา
ระบบการบริหารจัดการภาครัฐเกิดผลสัมฤทธิ์ขึ้นจริง อันจะท าให้ผู้เสียหายผู้ต้องหาและจ าเลยได้รับ
ความช่วยเหลือจากรัฐในทางกฎหมายด้วยความเป็นธรรมอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันซึ่งจะส่งผล
ท าให้กฎหมายที่ใช้บังคับมีความทันสมัยเป็นสากลและมีประสิทธิภาพทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ
และท าให้อัยการไทยสามารถใช้ดุลพินิจในการด าเนินคดีอาญาได้อย่างเป็นอิสระเพื่อสร้างความเป็น
ธรรมให้เกิดกับประเทศชาติและประชาชนต่อไปค
abstract:
Title The creation of measures to protect prosecutors' discretion in
criminal proceedings
Field Politics
Name Mr. Naris Chamnanchanan Course NDC Class 65
This research was motivated by the Constitution of the Kingdom of
Thailand, B.E. 2560, Section 248, which stipulates that the Attorney General has the
duties and powers as provided in the constitution and law. The prosecutors are
independent in considering and making orders in cases and in performing duties
expeditiously and justly and without any prejudice as well as the Public Prosecutors
and Public Prosecutors Act B.E. 2553 (2010) section 21 stipulates that prosecutors are
free to consider cases and perform duties in accordance with the constitution and
the law honestly and fairly. However, section 22 of such Act stipulates only that the
discretion of the Public Prosecutor in ordering cases and performing duties under
Section 21, which has been justified, shall be protected is not enough to protect the
prosecutor's discretion in criminal proceedings. Therefore, it is necessary to impose
appropriate measures to protect the discretion in criminal proceedings so that the
prosecutor is independent in criminal proceedings and can perform his duties
without fear of harm or persecution or being sued in a criminal, civil or administrative
case later. This is to ensure the provision of justice to the people and to protect the
interests of the nation which will result in law enforcement being fair according to
The Rule of Law and also in line with the 20-year National Strategy (2018-2037).
In this research, the researcher collected the primary and secondary
data by studying the Constitution of the Kingdom of Thailand, relevant laws and
regulations, judgment of the Thai Supreme Court including articles and documents in
both Thai and foreign languages regarding the guidelines for ensuring the
independence of Thai prosecutors under the International Cooperation Rules and the
guidelines for the protection measures of the United States Attorney General
together with guidelines for securing the independence of Thai prosecutors from the
principles of Thai law applicable to other officials performing their duties under the
given laws. After that, a comparative analysis and synthesis of theoretical data and
principles were performed including information collected from in-depth interviews
with 10 prosecutors who are highly experienced in criminal prosecution and have
practical prosecution skills. When input the collected data into the Lykke's Formula ง
model in formulating strategies it was found that the problem could be solved by
guaranteeing the independence of the Thai prosecutor. However, according to the
Public Prosecutors and Public Prosecutors Act, B.E. 2553 (2010), section 22 is still
insufficient to protect the exercise of discretion in criminal proceedings and the
performance of duties of the public prosecutor. Therefore, Section 22 must be
amended to contain the following statements: “The public prosecutor's discretion in
ordering cases and performing duties under section 21, when reasonable justifications
have been given, shall be protected against criminal, civil, administrative and any
other cases in any way related to it.” The researcher hopes that this research will be
useful and practical because it is necessary to ensure the independence of Thai
prosecutors in criminal proceedings and it is very important in the country's judicial
process so that the 20-year National Strategy (2018-2037) on the issue of creating
opportunities and equality in society and balancing and developing the public
administration system is effective. It will enable victims, accused and defendants to
receive legal assistance from the government with fairness and equality which result
in making the applicable laws modern, universally accepted and effective on a par
with other civilized countries. It will also enable Thai prosecutors to exercise their
discretion in the criminal proceedings independently in order to ensure the justice
for the nation and the people.จ