Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางพัฒนาการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ, (วปอ.9854)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวนภัสนันท์ พรรณนิภา, (วปอ.9854)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาการเสริมสรางสขุ ภาวะที่ดีของผูสูงอายุ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย ดร.นภัสนันท พรรณนิภา หลักสูตร วปอ. รุนที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณปญหาสุขภาวะของผูสูงอายุในเขต กรุงเทพมหานคร เพื่อวิเคราะหแนวทางการแกไขปญหาสุขภาวะของผูสูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร และเพื่อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการเสริมสรางสุขภาวะที่ดีของผูสูงอายุ โดยการสัมภาษณเชิงลึกจาก ผูมีสวนเกี่ยวของจากหนวยงานภาครัฐ องคกรที่เกี่ยวของกับการดูแลผูสูงอายุ และผูสูงอายุในเขต กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา ปญหาของผูสูงอายุ มีดังนี้ 1) ปญหาการนอนไมหลับ 2) ปญหา หลงลืม สมองเสื่อม 3) ปญหาภาวะทุพโภชนาการ 4) ปญหากลืนลําบาก สําลักบอย 5) ปญหาการ รับประทานยา 6) ปญหาของผูสูงอายุในเรื่องกระดูกพรุน 7) ปญหาของผูสูงอายุปสสาวะเล็ด กลั้นปสสาวะไมอยู 8) ปญหาหูตึงในผูสูงอายุ 9) ปญหาพลัดตก 10) ปญหาการฉีดวัคซีนสําหรับผูสูงอายุ โดยแนวทางการแกไขปญหาควรหมั่นดูแลเอาใจใสการเปลี่ยนแปลงทางสภาพรางกายของผูสูงอายุ อยางสม่ําเสมอและพาไปพบแพทยเมื่อมีอาการผิดปกติทางรางกาย แนวทางการพัฒนาสุขภาวะของ ผูสูงอายุในดานการพัฒนาสุขภาวะทางการใชเวลาวางของผูสูงอายุ การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิทยา และอารมณของผูสูงอายุ การพัฒนาสุขภาวะทางความคิดของผูสูงอายุ การพัฒนาสุขภาวะทางสังคม ของผูสูงอายุ การพัฒนาสุขภาวะทางรางกายของผูสูงอายุ และการพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณของ ผูสูงอายุ พบวา กิจกรรมที่ทุกภาคสวนจะตองใหความสําคัญเปนอันดับแรกไดแก กิจกรรมการออก กําลังกาย เนื่องจากเปนกิจกรรมที่สงเสริมสุขภาพและเกิดความสนุกสนาน สามารถนํามาพัฒนาสุข ภาวะในหลาย ๆ ดานใหกับผูสูงอายุ รองลงมา ไดแก กิจกรรมทางสังคม และกิจกรรมทางศาสนา ซึ่งเปนกิจกรรมที่ตองทํารวมกับผูอื่น ทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอก เปนการสรางสุข ภาวะในหลาย ๆ ดานที่เนนทางจิตวิทยาและอารมณ สังคม และจิตวิญญาณใหกับผูสูงอายุ ลําดับ ตอมา ไดแก กิจกรรมการเลนเกม กิจกรรมงานอดิเรก กิจกรรมสงเสริมคุณคาในตนเอง กิจกรรมฝก ระบบความคิดและกิจกรรมจากหนวยงานภายนอกใหความชวยเหลือ ซึ่งเปนการพัฒนาสุขภาวะ ใหกับผูสูงอายุที่แตกตางกันไปในแตละดาน และกิจกรรมอื่น ๆ เชน กิจกรรมการทองเที่ยว กิจกรรม ในครอบครัว กิจกรรมการใหเกียรติ กิจกรรมสงเสริมใหเกิดความสงบภายใน กิจกรรมที่ปรึกษาใหกับ ผูสูงอายุ กิจกรรมฝกสมอง กิจกรรมเลนดนตรี และกิจกรรมการสรางเครือขายในชุมชน ขอเสนอแนะ ในการวิจัยครั้งนี้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ครอบครัว และศูนยดูแลผูสูงอายุ จะตองมีแนวทางรวมกัน ในการพัฒนาสุขภาวะผูสูงอายุใหเกิดประสิทธิภาพในการปองกันและแกไขปญหาที่ดีที่สุดสําหรับ ผูสูงอายุข

abstract:

Title Guidelines for the development of good health promotion for the elderly Field Social - Psychology Name Napassanun Punnipa Ph.D. Course NDC Class 65 This study aimed to study the situation of health problems among the elderly in Bangkok, to analyze approaches to solving health problems of the elderly in Bangkok, and to suggest ways to develop and promote good health of the elderly. The in-dept interview from stakeholders from government agencies, organizations involved in caring for the elderly and elderly people in Bangkok. The results revealed that the problems of the elderly are as follows: 1) Insomnia 2) Forgetfulness, Alzheimer's disease 3) Malnutrition 4) Difficulty swallowing and choking problems 5) Problems taking medicines 6) Problems of the elderly in osteoporosis 7) Problems of urinary incontinence in the elderly urinary incontinence 8) Deafness in the elderly 9) Falling problems 10) Vaccination problems for the elderly. The solution to the problem should always be attentive to the changes in the physical condition of the elderly and taking them to see a doctor when there is a physical abnormality. Guidelines for improving the well-being of the elderly in terms of developing well￾being in leisure time use of the elderly, the development of psychological and emotional well-being of the elderly, the development of cognitive health in the elderly, development of social well-being of the elderly, The development of physical health of the elderly, and the development of spiritual well-being of the elderly it was found that activities that all sectors must give priority to are: physical activity because it is an activity that promotes health and brings fun, it can be used to improve health in many aspects for the elderly, followed by social activities and religious activities which is an activity that must be done with others both in the family, community and outside society It is to create well-being in many aspects that focus on psychological and emotional, social and spiritual aspects for the elderly, next there are game activities, hobbies activities, self-worth promotion activities, thinking system training activities, and activities from outside agencies to help which is the development of health for the elderly that differs in each aspect and other activities such as tourism activities, family activities, honor activities, activities to promote inner peace, counseling activities for senior citizens brain training activities, music playing activities, and community networking activities. Recommendations for this research Government, private sector, family and elderly care centers There must be a common approach to improving the health of the elderly to be effective in preventing and solving the best problems for the elderly.ค