เรื่อง: การใช้ประโยชน์ร่วมดาวเทียมสื่อสารภาครัฐและเอกชนเพื่อความมั่นคงของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี นเรศน์ มีลาภ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การใช้ประโยชน์ร่วมดาวเทียมสื่อสารภาครัฐและเอกชนเพื่อความมั่นคงของประเทศ
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย พลตรี นเรศน์ มีลาภ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๗
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์และเสนอแนวคิดในการใช้ประโยชน์ร่วม
ดาวเทียมสื่อสารภาครัฐและเอกชน ซึ่งก าหนดขอบเขตการวิจัยเฉพาะแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติ
ที่เปิดเผยได้โดยเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารและการสอบถามความคิดเห็น
ของผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อน ามาสรุปเป็นแนวคิดในการใช้ประโยชน์
ร่วมดาวเทียมสื่อสารภาครัฐและเอกชนเพื่อความมั่นคงของประเทศ ที่เหมาะสม มีความชัดเจน และสามารถ
น าไปสู่การปฏิบัติได้จริงซึ่งแนวทางการพัฒนาดาวเทียมสื่อสารภาครัฐที่หน่วยงานด้านความมั่นคงสามารถ
ร่วมใช้งานได้ แบ่งเป็น ๕ แนวทาง ได้แก่ (๑) รัฐลงทุนและด าเนินการบริหารจัดการดาวเทียมเองทั้งหมด,
(๒) รัฐเป็นผู้ลงทุนและด าเนินการบริหารดาวเทียมเองทั้งหมดในรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ, (๓) รัฐร่วมลงทุน
กับเอกชนและให้เอกชนเป็นผู้บริหาร, (๔) บริษัทเอกชนลงทุนและด าเนินการบริหารจัดการดาวเทียม และ
รัฐซื้อขาดทรานสปอนเดอร์ส าหรับใช้งานโดยภาครัฐ และ (๕) บริษัทเอกชนลงทุนและด าเนินการบริหาร
จัดการดาวเทียม และรัฐเช่าทรานสปอนเดอร์ส าหรับใช้งานภาครัฐ โดยแต่ละแนวทางการด าเนินงาน
มีทั้งข้อดีและข้อเสียที่ต้องใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเลือกแนวทางการด าเนินงานเพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า แนวทางการด าเนินงานโดยบริษัทเอกชนลงทุนและ
ด าเนินการบริหารจัดการดาวเทียม และรัฐซื้อขาดทรานสปอนเดอร์ส าหรับใช้งานโดยภาครัฐ เป็นแนวทาง
ที่มีความเป็นไปได้สูง และส่งผลดีทั้งต่อรัฐและเอกชน ซึ่งในการก าหนดคุณลักษณะและขีดความสามารถ
ของดาวเทียมสื่อสาร ต้องค านึงถึงความต้องการในการใช้งาน รูปแบบความร่วมมือ โครงสร้างการบริหาร
จัดการ และการคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรและการถ่ายทอดเทคโนโลยี
เพื่อให้สามารถตอบสนองในภารกิจและน าไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ในอนาคต โดยผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ
ว่า กระทรวงกลาโหมควรด าเนินการให้เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ
เนื่องจากข้อจ ากัดด้านงบประมาณและควรใช้งานระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมร่วมกับหน่วยงานอื่น
โดยเป็นเจ้าภาพหลักในการประสานงานภาครัฐ และมีสถานีควบคุมที่สามารถบริหารจัดการช่องความถี่
ของตนเองรวมทั้งควรมีการจัดท าบันทึกความร่วมมือด้านการสื่อสารผ่านดาวเทียมร่วมกับองค์กรภาคเอกชน
เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้พัฒนาขีดความสามารถ และเตรียมความพร้อม โดยให้ กรมเทคโนโลยี
สารสนเทศและอวกาศกลาโหมเป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการด าเนินการและจัดท ารายละเอียด
แผนการด าเนินงานเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาตกลงใจของผู้บังคับบัญชาต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title The Co-utilization of both Public and Private sector Communication
Satellite for National Defense Security.
Field Science and Technology
Name Major General Nares Meelarp Course NDC Class: 57
This research has objectives to study, analyze and propose ideas to
mutually utilize communication satellite of public and private sectors. The research’s
scope defines concepts and practices for disclosure. This study is a qualitative analysis
of documents which asks the opinions of executives and professionals including
interviews with luminaries. The concept is to bring together the benefits of using
communication satellite sector for defense are clear and can lead to practical. This
approach to develop communication satellites that are controlled by government for
securities can be used as five approaches which has both advantages and
disadvantages that must be used as a basis of considerations to achieve maximum
benefit.
The result of this study suggests that the private organization invests and
manages the satellite and allows the public sector to purchase transponders for
utilities is a high possible approach and will benefit both the public and private sectors.
In the attributes and capabilities of communication satellite should focus on the
requirements of utilities, cooperation model, management and selection of
appropriate technology including human resource development and technology
transfer to be able to fulfill its mission and lead to self-reliance in the future. The
researcher has suggested that the Ministry of Defense should continue to associate
with the Strategies of National Space Policy Committee due to budgetary constraints
and should use communication satellite system with other agencies and be the
primary host for coordinating within public sectors and have own controlling station to
manage its own transponders. Additionally, The Ministry of Defense should be to
prepare of a memorandum of cooperation in communication satellite with the private
sector to strengthen knowledge, develop capacity and armed preparation. Finally,
Department of Information Technology and Space should be the primary responsible
organization that prepares the plans and implementation for consideration of
commander’s agreement.