เรื่อง: การบริหารงานพัฒนาในพื้นที่ความขัดแย้ง กรณีศึกษาหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก นพดล สุขทับศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง การบริหารงานพัฒนา ในพืนทีความขัดแย้ง กรณีศึกษา หน่วยพัฒนาการ
เคลือนทีในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พ.อ.นพดล สุขทับศรี หลักสูตร วปอ. รุ่นที
การบริหารงานพัฒนาในพืนทีวิกฤต หรือพืนทีซึงมีความขัดแย้งนัน เป็ นศาสตร์ซึงมี
การพัฒนามาอย่างต่อเนืองนับตังแต่อดีต และในปัจจุบันประเทศไทยก็มีความขัดแย้งอย่างรุนแรง
ในพืนทีจังหวัดชายแดนภาคใต้การวิจัยครังนีได้กําหนดวัตถุประสงค์เพือศึกษาทฤษฎีและ
แนวความคิดเกียวกับการบริหารในภาวะวิกฤต และการบริหารงานพัฒนาในพืนทีทีมีความขัดแย้ง
เพือศึกษารูปแบบการดําเนินงานของสํานักงานพัฒนาภาค ๔ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา และเพือ
เสนอแนะแนวทางบริหารงานพัฒนาในพืนทีทีมีความขัดแย้งในความรับผิดชอบของสํานักงาน
พัฒนาภาค ๔ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
ผลการวิจัย พบว่า เพือให้การปฏิบัติภารกิจในการบริหารงานพัฒนาในพืนทีวิกฤตของ
สํานักงานพัฒนาภาค ๔ ประสบความสําเร็จ จะต้องกําหนดทิศทางขององค์การ โดยการทําความ
เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงสภาพความขัดแย้งในประเด็นต่างๆ พร้อมทังสร้างความเชือมโยงระหว่างการ
พัฒนาอย่างยังยืนกับการสร้างสันติภาพ และวางแผนการจัดการเพือให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยืนใน
พืนทีหลังวิกฤตการณ์ นอกจากนันสํานักงานพัฒนาภาค ๔ จะต้องกําหนดโครงสร้างองค์การของ
สํานักงานและหน่วยพัฒนาการเคลือนที ให้สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว พร้อมทังขยายการ
ประสานงานหรื อร่ วมทํางานพัฒนากับองค์การอืนๆ ทีมิใช่ส่ วนราชการ ทังของไทยและ
ต่างประเทศ โดยครอบคลุมถึงองค์การระหว่างประเทศองค์การต่างๆ ซึงการดําเนินงานจะประสบ
ความสําเร็จได้ก็จะต้องพัฒนาทักษะของบุคคลากรบนพืนฐานของการจัดการความรู้และการสร้าง
สังคมแห่งการเรียนรู้ จัดแนวทางการพัฒนากําลังพล เพือเสริมสร้างให้ข้าราชการทุกหน่วยงานมี
จิตสํานึกและความตระหนักในการปฏิบัติหน้าทีอย่างเต็มความสามารถ มีองค์ความรู้และการปฏิบัติ
หน้าทีอย่างเข้าใจ เข้าถึง วิถีชีวิตของคนในพืนทีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยยึดหลักการบริหาร
จัดการทีดีได้รับการยอมรับจากคนในพืนที มีการบูรณาการทํางานอย่างใกล้ชิด เพือให้การทํางาน
เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมมีระบบการติดตามประเมินผลการดําเนินการอย่างต่อเนือง
abstract:
ABSTRACT
Title The Guidelines of Developmental Administration in Conflict Areas, Case
Study of Mobile Development Units in Southern Border Provinces
Field Military Science
Name Col. Noppadol Suktubsri Course NDC. Class 57
The developmental administration in crisis or conflict areas was the science of
continuous development since the past until in the present. Thailand had serious and violent conflicts
in Southern Border provinces. The objectives of this research were to study involving theories and
guidelines about the administration in crisis situation and developmental administration in crisis
conflict areas, to study about the working pattern of Regional Development Office 4, Armed Forces
Development Command and to suggest developmental administration guidelines in conflict areas
which in the Regional Development Office 4, Armed Forces Development Command’s
responsibility.
The result found that to achieve the mission of developmental administration of Regional
Development Office 4 successfully, the direction of organization must be established through the
thorough and true understanding completely for the situation of various issues including creating the
linkage among sustainable development, peace and manage planning to create and encourage the
sustainable development in areas after crisis . Moreover, Regional Development Office 4 must
establish the organizational structure of Regional Development Office 4 and Mobile Development
Units agreeing with such guidelines also. Besides, the coordination and working about their
development together with other non organization units should be enlarged both in Thai and foreign
units by covering international and various units. All working proceeding should achieve its objectives successfully. It must develop the
necessary personnel skills on based of knowledge administration and creating knowledge society. Theguidelines of personnel administration to activate officers in every units must be encouraged. They
should have public mind and recognize in their own duties completely with full competence.
Furthermore, they have recognized in their knowledge, doing their duties truly and understandingly.
They should agree and accept the people’s lifestyle in Southern Border Provinces through merit and
good governance. Then people in such areas would be happy and appreciate them and working
closely together. At least, the developmental working will proceed in the same direction and the
follow-up system for its evaluation must be done in the same time.