เรื่อง: แนวคิดของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ระดับผู้บริหารในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก นพดล มังคละทน
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวความคิดของเจาหนาที่ภาครัฐ ระดับผูบริหาร ในการแกปญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พันเอก นพดล มังคละทน หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
งานวิจัยเรื่อง แนวความคิดของเจาหนาที่ภาครัฐ ระดับผูบริหาร ในการแกปญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใตเปนการศึกษาการแกปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตในบริบทของรูปแบบการจัด
การเมืองการปกครองที่เหมาะสม ที่นาจะนําไปสูการแกปญหาความขัดแยงที่เปนสาเหตุของความ
รุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใตได ปญหาที่ทําการศึกษาคือ แนวความคิดในการแกปญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใตของเจาหนาที่ภาครัฐ ระดับผูบริหารคืออะไร โดยใหเลือกระหวางแนวคิด 2 แนวคิด
คือแนวคิดรัฐเดี่ยว แบงแยกไมได และแนวคิด กระจายอํานาจ ปกครองพิเศษ มีปจจัยอะไรบางที่
สนับสนุน หรือมีอิทธิพลตอแนวคิดดังกลาว และมีการเสนอแนวคิดในการแกปญหารูปแบบอื่นหรือไม
การศึกษาเรื่องนี้เปนการศึกษาโดยใชวิธีการวิจัยแบบผสม (Mixed method) ศึกษาประชากรผูบริหาร
ระดับสูง เฉพาะกลุม คือกลุมประชากรนักศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 57 โดย
ใชแบบสอบถาม การจัดกลุมสนทนา (Focus group) การศึกษาการปฏิบัติงานในพื้นที่ และการ
จัดการสัมมนา การวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามใชLogistic regression สวนการวิเคราะหขอมูลเชิง
คุณภาพใชหลักการจัดกลุมตัวแปรตามคุณลักษณะสําคัญ (Key attributes)
ผลการศึกษาเชิงปริมาณพบวา ผูบริหารระดับสูง สวนใหญ (รอยละ 66) สนับสนุนแนวทาง
แกปญหาแบบรัฐเดี่ยว ความแตกตางภายในกลุม (ประเภทขาราชการ) ไมมีนัยยะสําคัญ อยางไรก็ตาม
มีความแตกตางระหวางกลุมอยางมีนัยยะสําคัญระหวางกลุมที่สนับสนุนแนวคิดรัฐเดี่ยว กับกลุมที่
สนับสนุนการกระจายอํานาจ ปกครองพิเศษ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกสนับสนุนระหวางสอง
แนวทางที่มีนัยยะสําคัญมี3 ปจจัยคือ ปจจัยดานคุณคาที่สําคัญที่สุดของชาติ2 ปจจัยคือ
‘ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพของประชาชน’ และ ‘เอกราช อธิปไตย และความเปน
ปกแผนของประเทศ’ และปจจัยดานรัฐบาล 1 ปจจัยคือ ‘การประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายของ
รัฐบาล’ ทั้ง 3 ปจจัยสงผลทางบวกตอการสนับสนุนนโยบายรัฐเดี่ยว แบงแยกมิได การวิเคราะหขอมูล
เชิงคุณภาพ พบวาเจาหนาที่ภาครัฐสนับสนุนนโยบายรัฐเดี่ยว เชนเดียวกัน แตปจจัยที่มีผลกระทบมี
ขอบเขตกวางขวางกวา
abstract:
ABSTRACT
Title ‘High-level bureaucrats’ concept of conflict resolution for the
conflict in southern border province of Thailand’
Field Military
Name Col. Nopadon Mungkalaton Course National Defence Course Class 57
The research explores the concepts of high-level bureaucrats on how the conflict in
southern border province of Thailand should be resolved focusing exclusively on the dimension of
political system of government and administration. It seeks to identify, between the two concepts – unitary state system and autonomy, what concept the high level bureaucrats support, and what
factors influence the choice of concepts; and whether any different concepts are proposed. A
mixed method, both quantitative and qualitative analyses, is used for the study. National Defence
Collage students Class 57 are chosen as the population for the study. Information is collected
through questionnaires, focus group, study visit of field operations, and seminar. Logistic
regression is used for quantitative analysis. Qualitative analysis employs the principle of variable
construction based on key attributors.
It is found that the majority of high-level bureaucrats support the unitary state concept
(66%) and no significant differences among types of bureaucrats within the group supporting each
concept. However, there is, statistically, significant difference between the group which supports
unitary state concept and autonomy concept. Three factors influence the support of unitary state
system, two from the value factor and one from the government performance factor, are (1)
‘democracy, human rights, and people’s freedoms’, (2) ‘national independence, sovereignty, and
integrity’, (3) ‘government’s policy and performance’. All three factors have positive effect on the
choice of unitary state system. As for the qualitative analysis, it is found that state bureaucrats
support the unitary state system but factors affecting the support are wide ranging.