เรื่อง: การเตรียมความพร้อมวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อมไทยทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การเตรียมความพร้อมวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดยอมไทย ่
เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเชียนอยางยั ่ งยืน %
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นางชุติมา เอี%ยมโชติชวลิต หลักสูตร วปอ. ร่นที
ุ ๕๖
การศึกษาเรื% องการเตรี ยมความพร้อมวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อม
( SMEs)ไทยเพื%อสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางยั ่ งยืน มีวัตถุประสงค์ เพื%อศึกษาสถานภาพของ %
SMEsไทย ในปัจจุบันและแนวทางการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้
มาตรฐาน และสร้างมูลค่าเพิ%มผลิตภัณฑ์ ตลอดจนแนวทางการเพิ%มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ให้ SMEs เพื%อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางยั ่ งยืน ที%ผ % านมา ประเด็นปัญหาและข้อจําก ่ ดของ ั
การดําเนินงานของ SMEs ในภาพรวมสรุปได้ดังนี? ๑) การขาดแหล่งเงินทุนในการดําเนินงาน ๒)
การขาดความรู้ด้านการตลาด ๓) คุณภาพสินค้า ที%ยังไม่ได้มาตรฐานสากล ๔) ขาดความรอบรู้ใน
ธุรกิจของตนเอง และ ๕) ขาดประสิทธิภาพในการผลิต จากวิเคราะห์ข้อมูลและศึกษาแนวทางการ
พัฒนา SMEs ในกลุ่มอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพให้สามารถเติบโตและแข่งขันได้อย่างยังยืนนั % ?น
ภาครัฐควรให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ ดังนี? ๑) สนับสนุนและส่งเสริมให้ SMEs สามารถผลิต
สินค้าให้ได้ตามมาตรฐานสากล ๒) ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสร้างมูลค่าเพิ%มให้แก่สินค้าและ
ผลิตภัณฑ์โดยสร้างเป็ นสินค้านวัตกรรม ๓) ให้ความรู้ด้านการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญหา ๔)
สนับสนุ นให้มีการจัดทํามาตรฐานสิ นค้าในอาเซี ยน ให้เป็นมาตรฐานเดียว ทํา Standard
Harmonization โดยเฉพาะกลุ่มผู้ผลิตวัตถุดิบทางการเกษตร สําหรับกลุ่มผลิตภัณฑ์หนึ%งตําบลหนึ%ง
ผลิตภัณฑ์ (OTOP) เป็ นกลุ่มที%ยังไม่มีความพร้อมในหลายด้าน ตั?งแต่ด้านการตลาด ด้านกาลังคน ํ
ด้านเทคโนโลยี และด้านการบริหารจัดการ แนวทางการสนับสนุนจากภาครัฐที%เหมาะสมและใน
การพัฒนาเพิ%มขีดความสามารถ OTOP มีดังนี? ๑) พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านการบริหาร
จัดการ ๒) ส่งเสริมด้านการทําการตลาดเฉพาะทางสร้างมูลค่าเพิ%มให้แก่สินค้า ๓) ใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีพัฒนาคุณภาพสินค้าและเพิ%มประสิทธิภาพการผลิต ๔) สร้างระบบพี%เลี?ยงการพัฒนา
SMEs/ OTOP โดยใช้นักวิจัยหรือผู้เชี%ยวชาญภาครัฐให้ความรู้และฝึ กปฏิบัติ ทั?งด้านการผลิตภายใต้
มาตรฐานสากล และการบริหาร หากภาครัฐมีการบูรณาการความช่วยเหลือ SMEs ไทย และ OTOP ข
โดยเฉพาะการสร้างความสามารถในการผลิตและบริการโดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีย่าง
จริงจังและต่อเนื%องจะช่วยให้ SMEs และ OTOP สามารถแข่งขันและเติบโตได้อยางยั ่ งยืน %
abstract:
Abstract
Title Preparing Thailand’s Small and Medium Enterprises for a Successful Integration
to the ASEAN Economic Community
Field Economics
Name MRS.CHUTIMA EAMCHOTCHAWALIT Course NDC Class 56
The objectives of this study are to scrutinize and identify the present status and
problems amongst Thai SMESs. The outcome of this study is a proposed guideline for using
science and technology (S&T) to improve the quality of SMEs products to meet international
standards as well as to add value to the products through the innovation process.
The following factors have been identified as obstacles to competitiveness for Thai
SMEs in the ASEAN market: 1) inability to secure financial support; 2) lack of market
knowledge; 3) product quality not meeting international standards; 4) lack of business
management knowledge; and 5) low production efficiency. These factors are especially
pronounced in the field of food and health products, where competition is high in the ASEAN
market.
Several analytical tools have been applied in this study to come up with the
guidelines for strengthening the competitiveness of Thai SMEs, and to prepare the businesses for a
successful integration to the ASEAN Economic Community (AEC). The guidelines are as follows:
1) raise awareness of international standards amongst SMEs while helping businesses improve the
quality of their products to meet such standards; 2) advocate the use of S&T for innovation and
creation of products with competitive advantages; 3) simplify the intellectual property rights
registration process to protect SMEs’ intellectual properties; 4) collaborate with other ASEAN
producers to establish the harmonization of standards, especially for agricultural products.
The term “SMEs” covers a wide range of capabilities and enterprises. For SMEs
with access to less resources and expertise such as OTOP, this study proposes the following
guidelines for a successful integration to the AEC: 1) strengthen business management and
marketing capabilities; 2) drive the use of S&T to improve process efficiency and enhance productquality; 3) encourage appropriate technology transfers to the OTOP community to help develop
products with higher “value-add.”
The quality of SMEs products is the most important consideration for Thai
businesses to be able to compete successfully in the ASEAN market. In summary, the government
should help provide the knowledge, expertise, and required S&T to SMEs so that they can
sustainably develop and differentiate their products through the innovation process.
Formatted: Thai Distributed
Justification, Space Before: 0 pt, After:
0 pt