เรื่อง: แนวทางการเปิดจุดผ่านแดนถาวร กรณีที่ยังไม่มีความชัดเจนเรื่องเส้นเขตแดนไทย-กัมพูชา : กรณีศึกษาช่องอานม้า อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี, (วปอ.9812)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ณัฎฐ์ ศรีอินทร์, (วปอ.9812)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการเปิดจุดผ่านแดนถาวร กรณีที่ยังไม่มีความชัดเจนเรื่อง
เส้นเขตแดนไทย-กัมพูชา : กรณีศึกษาช่องอานม้า อ้าเภอน้้ายืน
จังหวัดอุบลราชธานี
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย พันเอก ณัฎฐ์ ศรีอินทร์ นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การศึกษา แนวทางการเปิดจุดผ่านแดนถาวร กรณีที่ยังไม่มีความชัดเจนเรื่องเส้นเขต
แดนไทย-กัมพูชา : กรณีศึกษาช่องอานม้า อ้าเภอน้้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาสภาพปัญหา อุปสรรค โอกาส และหาแนวทางการบริหารจัดการที่มีความเหมาะสมในการเปิด
จุดผ่านแดนถาวรกรณีที่ยังไม่มีความชัดเจนเรื่องเส้นเขตแดนไทย-กัมพูชา พื้นที่ช่องอานม้า อ้าเภอน้้ายืน
จังหวัดอุบลราชธานี มีขอบเขตการวิจัยตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ด้านความมั่นคง
กลุ่มเป้าหมายที่ด้าเนินการศึกษา คือ กลุ่มประชากรไทย ในพื้นที่อ้าเภอน้้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี
และประชากรกัมพูชา ในพื้นที่อ้าเภอจอมกระสาน จังหวัดพระวิหาร รวมถึงกลุ่มผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ
ที่มีบทบาทในการก้าหนดนโยบาย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัยพบ
ปัญหา อุปสรรค ที่ส้าคัญ คือ ปัญหาความไม่ชัดเจนเรื่องเส้นเขตแดนแต่มีตลาดชุมชนกัมพูชาตั้งอยู่
กว่า ๒๐๐ หลังคาเรือน ปัญหาพื้นที่ในฝั่งไทยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติพระวิหารซึ่งต้องขอใช้พื้นที่ก่อน
ปัญหาหน่วยในพื้นที่ไม่มีอ้านาจตัดสินใจ และปัญหาประชาชนในพื้นที่ไม่รับรู้ข่าวสารท้าให้ขาดการมี
ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา แต่ก็ค้นพบโอกาส คือ ทั้งสองฝ่ายมีความต้องการที่จะพัฒนาพื้นที่เพื่อ
เพิ่มมูลค่าการค้าชายแดนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน การที่เอกชนของฝ่ายกัมพูชาได้เข้า
มาลงทุนเพื่อเตรียมการยกระดับเป็นจุดผ่านแดนถาวรในหลายๆด้านแล้วอาจผลักดันให้เป้าหมาย
ส้าเร็จได้ และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หากมีการเจรจาด้วยสันติวิธี และใช้หลักการเจรจาต่อรองที่ดี
อาจส่งผลให้ส้าเร็จได้ โดยพบรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความเหมาะสม ๓ รูปแบบ คือ ก้าหนด
พื้นที่ห้ามใช้ประโยชน์ (Buffer Zone) รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่มีอยู่เดิมออก ทั้งสองฝ่ายบริหารจัดการ
พื้นที่นอกพื้นที่ห้ามใช้ประโยชน์ หรือก้าหนดพื้นที่ห้ามใช้ประโยชน์ (Buffer Zone) รื้อถอนสิ่งปลูก
สร้างที่มีอยู่เดิมออก ให้ใช้ประโยชน์เฉพาะเป็นที่ตั้งส่วนราชการของทั้งสองประเทศที่ปฏิบัติงานใน
พื้นที่ หรือก้าหนดพื้นที่ห้ามใช้ประโยชน์ (Buffer Zone) แล้วอนุโลมให้ประชาชนที่อาศัยอยู่เดิมและ
ประสงค์อยู่ต่ออาศัยอยู่ได้ แต่อนุโลมเฉพาะการอยู่อาศัยเท่านั้นห้ามท้าการค้าหรือกิจการอื่นใด โดยมี
ข้อเสนอแนะ ให้ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านใช้การก้าหนดพื้นที่ห้ามใช้ประโยชน์
(Buffer Zone) แก้ปัญหาการกล่าวอ้างเส้นเขตแดนที่แตกต่างกัน กระทรวงมหาดไทยควรจัดให้มีการ
ฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเปิดจุดผ่านแดน
ให้เข้าใจขั้นตอนและวิธีการด้าเนินการ มีการจัดตั้งคณะท้างานของจังหวัดจากทุกหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมด้าเนินการ มีโครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านในทุก
หน่วยงานและทุกระดับ และปลูกฝังให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ และประชาชนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อประเทศ
เพื่อนบ้าน ข
abstract:
Title Guidelines on how to open permanent border crossing point in the case
of unclear border line between Thailand and Cambodia : Case study of
Kan Mha groove, Amphor Nam Yeun, Ubon Ratchathani Province
Field Politics
Name Colonel Nutt Sri-in Course NDC Class 65
Guidelines on how to open permanent border crossing point in the case
of unclear border line between Thailand and Cambodia: Case study of Kan Mha
groove, Amphor Nam Yeun, Ubon Rachatani Province was made for with a purpose
to study about problems, obstacle, opportunity and to find a proper managing
system to open permanent border crossing point in the case of unclear border line
between Thailand and Cambodia on Kan Mha groove, Amphor Nam Yeun, Ubon
Ratchathani Province. And also, to be a guideline on how to managing other border
crossing point between Thailand and Cambodia which has similar problems. This
research has a scope in accordance with National Strategy 2018-2037 on stability.
The targets on this research are Thai citizens in Amphor Nam Yeun, Ubon Ratchathani
Province and Cambodia citizens in Amphor Jom Krasan, Pra Vihear Province include
high ranking government official who has a role in creating policy with quality
research procedure.
The result show that the important problems are the unclear in border
line but there are over 200 Cambodia’s household in the area, Thailand’s areas are
in National park area which need approval before use, Government sector in the area
don’t have the power to decide and people in the area lacking news making them
not being to solve the problem. But there is also an opportunity. Both side want to
improve the area in order to increase the value of border trading and improve
people’s quality of life. Cambodia’s private has invest in order to prepare to be
permanent border crossing point in many ways and to make good relationship with
Thailand. If there is a peaceful negotiation and using it to reach a conclusion, there
are 3 suitable managing systems.
First is to indicate a buffer zone, removing all building and both side
mange areas around the buffer zone. Second, indicate a buffer zone, removing all
building and only use it to be location for both side government sector who work in
the area. And lastly, indicate a buffer zone and allow the original citizen and those ค
who still want to stay can live there but only for residence, prohibiting all type of
trading and business. However, both countries should be looking at the benefit that
they would gain from doing as a main purpose. The process should be done by
discussion between both countries’ leader either using existing bilateral mechanism
or a new method and every officials should have a way of communication to people too.ง