Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการสร้างความมั่นคงของมนุษย์บนพื้นที่สูง : กรณีศึกษาบ้านผาหมี ตำบลเวียงพางคำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย, (วปอ.9806)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายโชคชัย วิเชียรชัยยะ, (วปอ.9806)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพื้นที่สูง : กรณีศึกษาบานผาหมี ตําบลเวยีงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร ผูวิจัย นายโชคชัย วิเชียรชัยยะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๕ ตําแหนง ผูตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) เพื่อศึกษาบริบทภูมิสังคมของชุมชนบนพื้นที่สูง และ ๒) เพื่อศึกษาแนวทางในการแกไขปญหาและอุปสรรคบนพื้นที่สูง ใชรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แนวคติชนวิทยา เก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารงานวิจัย ตํารา บทความ วิจัย บทความวิชาการ และขอมูลภาคสนามโดยกระบวนการเรียนรูและกระบวนการมีสวนรวมของคน ในชุมชน ภายใตองคความรูและฐานขอมูลของชุมชน เนนกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) กลุมชาติพันธุอาขาบานผาหมี ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย จํานวน 30 คน ไดแก กลุมผูนําชุมชน ผูสูงอายุ ปราชญชาวบานหรือผูที่ไดรับการยกยองเปนครูภูมิปญญา ผูนําทางศาสนา โดยผูวิจัยวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) และวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ดวยตัวของผูวิจัยเอง และนํามาเรียบเรียงดวยการวิเคราะหเชิงพรรณนา (Analytic Induction) ผลการวิจัย สามารถสรุปตามวัตถุประสงคไดดังนี้ 1. บริบทภูมิสังคมของชุมชนบนพื้นที่สูงบานผาหมีภายใตความมั่นคงของมนุษย 5 มิติ ผูวิจัยไดกําหนดพื้นที่ศึกษาบานผาหมี ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัด เชียงราย เปนชุมชนบนพื้นที่สูงที่มีกลุมชาติพันธุชาวอาขาอาศัยอยู เมื่อศึกษาบริบทภูมิสังคมภายใต ความมั่นคงของมนุษยของชนเผาอาขาบานผาหมี ใน 5 มิติ สามารถสรุปไดดังนี้ 1.1 มิติดานสุขภาพ พบวา ปญหาดานสุขภาพของชาวอาขาบานผาหมีมีความ สอดคลองกับวิถีชีวิต เชน โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบกลามเนื้อ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน เปนผลมาจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการใชสารเคมีเพื่อการควบคุมคุณภาพผลผลิต และ รูปแบบการบริโภคอาหารของชาวอาขาไดปรับเปลี่ยนไปตามสังคมนิยม รวมถึงปญหาหมอกควันไฟปา ขามแดนเนื่องจากมีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศเมียนมา สงผลตอการเปนโรคทางเดินหายใจ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานผาหมี และอาสาสมัครสาธารสุขประจําหมูบาน (อสม.) จึงเปน กลไกสําคัญในการดูแลดานสุขอนามัยในระดับครัวเรือน ในขณะที่เทศบาลตําบลเวียงพางคํา รวมใน การสงเสริมสุขภาพ ปองกัน เฝาระวังและควบคุมโรคติดตอและไมติดตอในพื้นที่ 1.2 มิติดานความเปนอยู (ที่อยูอาศัย) พบวา การไดมาซึ่งที่ดินสําหรับใชเปนที่อยู อาศัยและที่ทํากิน ไดมาจากการจับจองของบรรพบุรุษในสมัยกอน ภายใตการกํากับดูแลของพระ ตําหนักดอยตุง ซึ่งเอกสารสิทธิ์ที่ไดไมสามารถทําการชื้อขาย หรือนําไปแลกเปลี่ยนเปนทุน (เงิน) เพื่อใชในการลงทุนตอยอดการประกอบอาชีพและธุรกิจ ทําไดเพียงเปนมรดกตกทอดจากรุนสูรุน เทานั้น ในขณะเดียวกัน กรมปาไมไดอนุญาตใหชาวอาขาสามารถเขาไปใชประโยชนจากปาอนุรักษได โดยสงเสริมใหชุมชนสามารถอยูกับปาไดอยางยั่งยืน ข 1.3 มิติดานการศึกษา พบวา ปจจุบันเด็กในพื้นที่ออกไปเรียนในโรงเรียนพื้นราบมาก ขึ้น เนื่องจากทัศนคติดานคุณภาพการศึกษา โดยผูปกครองสนับสนุนและใหความสําคัญกับการศึกษา ของบุตรหลานมากกวาในอดีต เมื่อจบการศึกษาแลวบุตรหลานจะออกไปทํางานนอกพื้นที่หรือ ตางจังหวัดมากขึ้น ในขณะเดียวกันการเผยแพรศาสนา (ศาสนาคริสต) ในพื้นที่ที่สรางแรงจูงใจโดยการ ใหทุนการศึกษาแกเด็ก ซึ่งตองแลกกับการเปลี่ยนการนับถือศาสนาไปโดยปริยาย สงผลกระทบ ตอระบบประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตแบบอาขาดั้งเดิมเริ่มเลือนหายไป 1.4 มิติดานรายได พบวา นโยบายการสงเสริมการทองเที่ยวของหนวยงานรัฐสงผล ใหบานผาหมีมีการเปดพื้นที่เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ เกิดผูประกอบการดานการทองเที่ยว ที่พัก โฮมสเตย รานอาหาร รานกาแฟ มากขึ้น โดยอาศัยวิถีชีวิต วัฒนธรรมและความเปนอัตลักษณ ชาวอาขาเปนจุดขาย สรางรายไดใหแกผูประกอบการและคนในพื้นที่ ในขณะเดียวกันเปนปจจัยหนึ่งที่ สรางแรงดึงดูดใหแรงงานจากประเทศเมียนมาขามถิ่นเขามาเพื่อเปนแรงงานดานเกษตรกรรมและ การบริการในพื้นที่บานผาหมีมากขึ้น 1.5 ดานการเขาถึงบริการรัฐ พบวา เดิมเกิดความเหลื่อมล้ําระหวางราษฎรบนพื้นที่ สูงชาวอาขาและชนพื้นราบเกี่ยวกับการเขาถึงสวัสดิการดานตาง ๆ ที่รัฐจัดให เชน การมีบัตรประจําตัว ประชาชน สิทธิการรักษาพยาบาล การเขาถึงสิทธิดานการศึกษา แตในปจจุบัน ความเหลื่อมล้ําในการ เขาถึงสิทธิลดลง เนื่องจากชาวอาขาบานผาหมีมีบัตรประจําตัวประชาชนที่ออกโดยหนวยงานรัฐ รับรองสิทธิการเปนพลเมืองไทย จึงไดรับสวัสดิการที่ครอบคลุมเฉกเชนชาวพื้นราบทั่วไป 2. แนวทางการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพ้นื ที่สูง ประเด็นการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพื้นที่สูงพื้นที่บานผาหมี ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย 2.1 จัดระบบการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม ผานการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ หลักสูตรแกนกลางของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ควบคูกับหลักสูตร พื้นบานซึ่งเปนองคความรูทองถิ่น (จารีต ประเพณี วัฒนธรรม พิธีกรรม) ทั้งนี้ใหบรรจุการศึกษา แบบพหุวัฒนธรรมไวเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน 2.2 พัฒนาระบบการทองเที่ยวชุมชนใหเปนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อใหชุมชน สามารถยังประโยชนดานเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการรักษาและคงไวซึ่งอัตลักษณ ความเปนชาติพันธุอาขา โดยไมสูญเสียสิ่งหนึ่งสิ่งใดไป เปนการใชชีวิตอยางสมดุล 2.3 สงเสริมการมีสวนรวมของหนวยงานภาครัฐเพื่อสรางกระบวนการจัดการในการ รักษาอัตลักษณจารีตประเพณีและวัฒธรรมของราษฎรบนพื้นที่สูงใหสามารถดํารงอยูคูกับการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม รวมถึงสรางความตระหนักรูใหแกเด็กและเยาวชนในการรักษาความเปน รากเหงาของชาติพันธุของตนเอง 2.4 สรางเครือขายการพัฒนาที่มีความหลากหลายทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม จิตอาสา และอาสามัครตาง ๆ บูรณาการความรวมมือและดึงเครือขายดานความ รับผิดชอบตอสังคม หรือ CSR : Corporate Social Responsibility เขามาสนับสนุนและสงเสริม การสรางโอกาสและยกระดับทั้งสังคม สิ่งแวดลอม และคนแบบยั่งยืน ค 2.5 นําเทคโนโลยีสมัยใหมมาปรับใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานไดอยางสะดวก รวดเร็ว ลดความซ้ําซอน และงายตอการเขาถึงของผูใชบริการและสะดวกตอการใหบริการ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ 2.6 สรางอํานาจตอรองราคาสินคา โดยการรวมกลุมของเกษตรกรในชุมชน ลดปญหาการถูกเอาเปรียบดานการตลาดจากพอคาภายนอก รวมถึงนําแนวคิด BCG MODEL มารวม เปนสวนหนึ่งในการสรางกลไกในการเสริมสรางชุมชนบานผาหมีใหเกิดความมั่นคง และเขาถึงประเด็น ความมั่นคง ทั้ง 5 ดานภายใตหลักสิทธิขั้นพื้นฐานและหลักประกันทางสังคม 2.7 สํารวจและจัดเก็บขอมูลราษฎรบนพื้นที่สูงครอบคลุม 5 มิติ (สุขภาพ ความเปนอยู การศึกษา รายได การเขาถึงบริการรัฐ) ใหเปนปจจุบัน ผานเครื่องมือที่เรียกวา “สมุดพกครอบครัว” และบันทึกขอมูลในระบบ MSO-Logbook ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อวิเคราะหและกลั่นกรองสภาพปญหา หาแนวทางแกไข สงเสริม พัฒนาและฟนฟูใหราษฎรบนพื้นที่ สูงมีคุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคง ยั่งยืน ขอเสนอแนะ จากผลการวิจัย พบวา แนวทางการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพื้นที่สูงบรรลุ วัตถุประสงคไดตองเริ่มจากความตระหนักรูของราษฎรบนพื้นที่สูง ควบคูกับการบูรณาการการทํางาน รวมกับหนวยงานรัฐ และดึงศักยภาพของเครือขายเขามีสวนรวม โดยผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพิ่มเติม ตอการสรางความมั่นคงบนพื้นที่สูง ดังนี้ ๑. ขอ เสนอแนะระดับนโยบาย ๑.1 การกําหนดนโยบายการฟนฟูอนุรักษวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี และการแกไขปญหาความยากจนที่สอดคลองกับบริบทของภูมิสังคมของชุมชนบนพื้นที่สูงอยางแทจริง ๑.2 การพัฒนาระบบฐานขอมูลระดับครัวเรือนและระดับบุคคล ที่สามารถนํามาใช ระบุกลุมเปาหมายผูมีรายไดนอย ผูดอยโอกาสและกลุมเปราะบางทางสังคม เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ที่สอดคลองกับการแกไขปญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ําในสังคมใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ๑.3 ภาครัฐควรใหความสําคัญกับการแกไขปญหาและพัฒนาพื้นที่สูงอยางตอเนื่อง โดยการจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาที่เพียงพอและเหมาะสม ๑.4 ภาครัฐควรคํานึงถึงความละเอียดออนของปญหาดานความมั่นคงตามแนว ชายแดน ควบคูกับการสรางความสมดุลของการพัฒนาทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติบนพื้นที่สูงเพื่อปองกันการหวนกลับไปลักลอบปลูกพืชเสพติดเชนเดิม ๒. ขอ เสนอแนะระดับปฏิบัติการ ๒.1 เสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการพึ่งพาตนเอง และสรางภูมิคุมกัน ทางอัตลักษณ จารีต ประเพณี ใหกับสมาชิกชุมชนบนพื้นที่สูง ๒.2 สรางอาสาสมัคร (จิตอาสา) บนพื้นที่สูง และพัฒนาศักยภาพผูนําชุมชน อาสาสมัคร และภาคีเครือขายใหมีความรู ความเขาใจเรื่องการจัดสวัสดิการสังคม และการดูแล กลุมเปาหมายบนพื้นที่สูงทุกชวงวัย เพื่อใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน ง ๒.3 สงเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือนใหมีขีดความสามารถในการจัดการ วางแผนการดําเนินชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ การศึกษา และการเขาถึงบริการรัฐ ใหเกิดการจัดการตนเองอยางถาวร ๒.4 การสงเสริมและใหความรูความเขาใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแกราษฎรบนพื้นที่สูง เพื่อยึดถือและนําไปปฏิบัติอยางจริงจัง เนื่องจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางในการ แกไขปญหาความยากจนที่มีความเหมาะสมกับสภาพของครัวเรือนของไทยมากที่สุด 3. ขอ เสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งตอไป ควรมีการวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนและชุมชนบนพื้นที่สูง ไดแก ๓.1 การวิจัยเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการเพื่อความมั่นคงของชีวิตของชุมชนบนพื้นที่สูง ๓.2 การสรางความเขมแข็งและการสรางภูมิคมุ กันของชุมชนบนพื้นที่สูง ๓.3 การเสริมสรางศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูงโดยเนนการมีสวนรวมในการแกไข ปญหาความยากจน จ

abstract:

Title Guidelines for Building Human Security on the Highlands: Case Study of Ban Pha Mee Village, Wiang Phang Kham Sub￾District, Mae Sai District, Chiang Rai Province. Field Strategy Name Chokchai Wichianchaiya Couse NDC Class 65 This academic research aims to 1) study the social context of the communities living on the highland, and 2) study the guideline to resolve problems and obstacles on the highlands through the Qualitative Research method based on Folkloristics: collecting data from the documents, textbooks, research journals, academic journals, and field data via learning and locals’ participations under knowledge and community data base with emphasizing the procedure of stakeholders’ participations from 30 Akhas residing in Ban Pha Mee Village, Wiang Phang Kham Sub-District, Mae Sai District, Chiang Rai Province, including community leaders, elderlies, local wise men or whom worshipped as wisdom scholars, and religious leaders. The researcher himself has analyzed both Qualitative Data and Content Analysis, and compiled via Analytic Induction. The results can be summarized according to the objectives as follows: 1. Bam Pha Mee Highland Community’s Social Context under 5 Aspects of Human Security The researcher has defined the Ban Pha Mee Village, Wiang Phang Kham Sub-District, Mae Sai District, Chiang Rai Province, to be the study area of highland community where Akhas lives, which its social context under 5 aspects of human security can be summarized as follows: 1.1 Health Aspect: The result conveys that the health issues of Akhas in Ban Pha Mee Village is related to the lifestyles such as respiratory disease, musculoskeletal disease, high blood pressure, diabetes, all are resulted from farming that involved with the use of pesticide to control product quality. Moreover, Akhas’ food consumption has been converting throughout the society, and the smog from the cross-border forest fire from connecting to Myanmar territory resulted in their respiratory diseases. The Ban Pha Mee Health Promoting Hospital, and the village public health volunteers are the main mechanism to take care household hygiene, whereas the Wiang Phang Kham Municipality jointly promote the health within, prevent, monitor, and control both contagious and non-contagious diseases in the area; ฉ 1.2 Well-Being Aspect (Residency): The result conveys that the land acquisitions for living and farming come from the ancestors in the past under the Doi Tung Palace’s regulation, in which the righteous documents cannot be sold or exchanged into funding (money) for investing in occupations nor business; capable only for heritages for the next generations, while the Royal Forest Department does not permit the Akhas to enter and take advantage from the conservative forest but promote the community to live with the forest sustainably; 1.3 Education Aspect: The result conveys that more local children have left the area to study in flat-ground schools due to their attitudes in quality of education, which their parents has supported and focused on their children’ education more than one in the past, and the children tended to work outside the area or other provinces once graduated. Moreover, the Christian evangelism in the area has influenced through the scholarships in change of the religion, resulted in the fade of Akha’s traditional culture and lifestyle; 1.4 Income Aspect: The result conveys that the government policy of promoting tourism resulted in Ban Pha Mee Village to open areas for nature tourism attraction, creating more entrepreneurs for tourism, accommodations, homestays, restaurants, coffee shops with Akha’s lifestyle, culture, and identity as the selling point. This not only creates incomes to both entrepreneurs and locals, but also attracts more workers transferred from Myanmar for agriculture and services in Ban Pha Mee; 1.5 Access to Government Service Aspect: The result conveys that there were inequalities in government welfare access between Akha highlanders and people living on the flat ground such as rights to hold the identity card, medical treatments, education. However, these inequalities are reduced nowadays since the Akhas hold the their identity cards from the government to obtain all rights to be Thai citizens, which cover all welfares as same as other people living on the flat ground. 2. Guidelines for Building Human Security on the Highlands The procedures to build human security on Ban Pha Mee Highland, Wiang Phang Kam sub-district, Mae Sai district, Chiang Rai province, includes as follows: 2.1 Establishing the Multicultural Educational System: through the integrated core curriculum from Office of the Basic Education Commission (OBEC) in conjuction with local curriculum which is based on local knowledge (norms, traditions, cultures, rituals), in which this multicultural educational system will be concluded as part of the curriculum; ช 2.2 Developing the Community Tourism System into Ecotourism: in order for community to still take benefits in economy and environment in conjuction with maintain and preserve the Akha’s identity without losing anything and living with balance; 2.3 Promoting the Participation from the Government: in order to manage in maintaining identity of norms, traditions, and culture of highlanders to be able to live along with changes in society, and to acknowledge their children and youth to preserve their own indigenous root; 2.4 Establishing Various Networks: throughout the government agencies, private sectors, civil societies, volunteers, and volunteer workers with integrated cooperation and corporate social responsibilities (CSRs) to support, promote opportunities, and raise up the society, environment, and people sustainably; 2.5 Introducing Modern Technology to Adapt: to increase efficiency with convenience, speed, decrease in redundancy, and easiness to access from the clients and the service providers from relevant agencies; 2.6 Creating Bargaining Power: by the integration of farmers in the community in order to reduce from being taken advantage from outside merchants , and to comply the BCG Model concepts integrated in mechanism of strengthening Ban Pha Mee community its stability and reach to 5 aspects of human security under basic rights and social security; 2.7 Surveying and Collecting Census of Highlanders: covering all 5 aspects (Health, Well-Being, Education, Income, and Access to Government Service) to be up￾to-date via the tool titled “MSO Logbook” and recording into MSO-Logbook system created by the Ministry of Social Development and Human Security in order to analyze and separate the problem conditions and seek the solutions, promote, develop, and restore highlanders for their better, more stable, and more sustainable quality of lives. Recommendations According to the research, the Guidelines for Building Human Security on the Highland must be based on highlanders’ acknowledgement in conjuction with integrated cooperation from the government agencies and networks’ potentials, in which the researcher provides the recommendations for this topic as follows: ซ 1. Policy Level 1.1 Formulating the policies to restore and preserve local lifestyle, traditions, norms, and culture, and to solve poverty in conjunction with highland community’s social context; 1.2 Developing database system, at the household level and individual level, that can identify the target groups of low-income, underprivileged, and socially vulnerable group, in order to propel policies in conjuction with solving poverty and inequality in the society for the utmost efficiency; 1.3 Emphasizing the government sector in solving problems and developing highlands continuously through budget relocation for adequate and appropriate development; 1.4 Emphasizing the government sector to realize the sensitivity in border security issues along with balance in development of economy, society, and natural resources conservation on highlands to prevent the return of growing and smuggling addictive plants as before. 2. Operational Level 2.1 Raising community’s potentials to rely on itself, and create protection in its identity, norms, and cultures towards the community highlanders; 2.2 Creating volunteer workers (volunteer) on the highland, and raise potentials among community leaders, volunteers, and the networks to have knowledge, to understand the social welfare management, and to take care the all￾aged target groups on the highland for sustainable self-rely; 2.3 Enhancing the adaptation at the household level for its capacity in permanent management of well-being, health, family, finance and occupation, education, and access to government service; 2.4 Enhancing and acknowledging highlanders the Sufficiency Economy Philosophy (SEP) to uphold and put into regular practice since the SEP is the most appropriate guideline to solve poverty in Thai household condition. 3. Recommendations for Further Research It is recommended to conduct further research in issues relevant to the development in quality of life and community as follows: 3.1 Conducting research on welfare management for the stability in quality of communities on the highlands; 3.2 Establishing strength and protection of highland communities; 3.3 Enhancing potentials in high communities through emphasizing the participation in solving poverty. ฌ