เรื่อง: แนวทางการสร้างความมั่นคงของมนุษย์บนพื้นที่สูง : กรณีศึกษาบ้านผาหมี ตำบลเวียงพางคำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย, (วปอ.9806)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายโชคชัย วิเชียรชัยยะ, (วปอ.9806)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพื้นที่สูง : กรณีศึกษาบานผาหมี
ตําบลเวยีงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร
ผูวิจัย นายโชคชัย วิเชียรชัยยะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๕
ตําแหนง ผูตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) เพื่อศึกษาบริบทภูมิสังคมของชุมชนบนพื้นที่สูง
และ ๒) เพื่อศึกษาแนวทางในการแกไขปญหาและอุปสรรคบนพื้นที่สูง ใชรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) แนวคติชนวิทยา เก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารงานวิจัย ตํารา บทความ
วิจัย บทความวิชาการ และขอมูลภาคสนามโดยกระบวนการเรียนรูและกระบวนการมีสวนรวมของคน
ในชุมชน ภายใตองคความรูและฐานขอมูลของชุมชน เนนกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย
(Stakeholders) กลุมชาติพันธุอาขาบานผาหมี ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
จํานวน 30 คน ไดแก กลุมผูนําชุมชน ผูสูงอายุ ปราชญชาวบานหรือผูที่ไดรับการยกยองเปนครูภูมิปญญา
ผูนําทางศาสนา โดยผูวิจัยวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) และวิเคราะหเนื้อหา (Content
Analysis) ดวยตัวของผูวิจัยเอง และนํามาเรียบเรียงดวยการวิเคราะหเชิงพรรณนา (Analytic Induction)
ผลการวิจัย สามารถสรุปตามวัตถุประสงคไดดังนี้
1. บริบทภูมิสังคมของชุมชนบนพื้นที่สูงบานผาหมีภายใตความมั่นคงของมนุษย 5 มิติ
ผูวิจัยไดกําหนดพื้นที่ศึกษาบานผาหมี ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัด
เชียงราย เปนชุมชนบนพื้นที่สูงที่มีกลุมชาติพันธุชาวอาขาอาศัยอยู เมื่อศึกษาบริบทภูมิสังคมภายใต
ความมั่นคงของมนุษยของชนเผาอาขาบานผาหมี ใน 5 มิติ สามารถสรุปไดดังนี้
1.1 มิติดานสุขภาพ พบวา ปญหาดานสุขภาพของชาวอาขาบานผาหมีมีความ
สอดคลองกับวิถีชีวิต เชน โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบกลามเนื้อ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
เปนผลมาจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการใชสารเคมีเพื่อการควบคุมคุณภาพผลผลิต และ
รูปแบบการบริโภคอาหารของชาวอาขาไดปรับเปลี่ยนไปตามสังคมนิยม รวมถึงปญหาหมอกควันไฟปา
ขามแดนเนื่องจากมีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศเมียนมา สงผลตอการเปนโรคทางเดินหายใจ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานผาหมี และอาสาสมัครสาธารสุขประจําหมูบาน (อสม.) จึงเปน
กลไกสําคัญในการดูแลดานสุขอนามัยในระดับครัวเรือน ในขณะที่เทศบาลตําบลเวียงพางคํา รวมใน
การสงเสริมสุขภาพ ปองกัน เฝาระวังและควบคุมโรคติดตอและไมติดตอในพื้นที่
1.2 มิติดานความเปนอยู (ที่อยูอาศัย) พบวา การไดมาซึ่งที่ดินสําหรับใชเปนที่อยู
อาศัยและที่ทํากิน ไดมาจากการจับจองของบรรพบุรุษในสมัยกอน ภายใตการกํากับดูแลของพระ
ตําหนักดอยตุง ซึ่งเอกสารสิทธิ์ที่ไดไมสามารถทําการชื้อขาย หรือนําไปแลกเปลี่ยนเปนทุน (เงิน)
เพื่อใชในการลงทุนตอยอดการประกอบอาชีพและธุรกิจ ทําไดเพียงเปนมรดกตกทอดจากรุนสูรุน
เทานั้น ในขณะเดียวกัน กรมปาไมไดอนุญาตใหชาวอาขาสามารถเขาไปใชประโยชนจากปาอนุรักษได
โดยสงเสริมใหชุมชนสามารถอยูกับปาไดอยางยั่งยืน ข
1.3 มิติดานการศึกษา พบวา ปจจุบันเด็กในพื้นที่ออกไปเรียนในโรงเรียนพื้นราบมาก
ขึ้น เนื่องจากทัศนคติดานคุณภาพการศึกษา โดยผูปกครองสนับสนุนและใหความสําคัญกับการศึกษา
ของบุตรหลานมากกวาในอดีต เมื่อจบการศึกษาแลวบุตรหลานจะออกไปทํางานนอกพื้นที่หรือ
ตางจังหวัดมากขึ้น ในขณะเดียวกันการเผยแพรศาสนา (ศาสนาคริสต) ในพื้นที่ที่สรางแรงจูงใจโดยการ
ใหทุนการศึกษาแกเด็ก ซึ่งตองแลกกับการเปลี่ยนการนับถือศาสนาไปโดยปริยาย สงผลกระทบ
ตอระบบประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตแบบอาขาดั้งเดิมเริ่มเลือนหายไป
1.4 มิติดานรายได พบวา นโยบายการสงเสริมการทองเที่ยวของหนวยงานรัฐสงผล
ใหบานผาหมีมีการเปดพื้นที่เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ เกิดผูประกอบการดานการทองเที่ยว
ที่พัก โฮมสเตย รานอาหาร รานกาแฟ มากขึ้น โดยอาศัยวิถีชีวิต วัฒนธรรมและความเปนอัตลักษณ
ชาวอาขาเปนจุดขาย สรางรายไดใหแกผูประกอบการและคนในพื้นที่ ในขณะเดียวกันเปนปจจัยหนึ่งที่
สรางแรงดึงดูดใหแรงงานจากประเทศเมียนมาขามถิ่นเขามาเพื่อเปนแรงงานดานเกษตรกรรมและ
การบริการในพื้นที่บานผาหมีมากขึ้น
1.5 ดานการเขาถึงบริการรัฐ พบวา เดิมเกิดความเหลื่อมล้ําระหวางราษฎรบนพื้นที่
สูงชาวอาขาและชนพื้นราบเกี่ยวกับการเขาถึงสวัสดิการดานตาง ๆ ที่รัฐจัดให เชน การมีบัตรประจําตัว
ประชาชน สิทธิการรักษาพยาบาล การเขาถึงสิทธิดานการศึกษา แตในปจจุบัน ความเหลื่อมล้ําในการ
เขาถึงสิทธิลดลง เนื่องจากชาวอาขาบานผาหมีมีบัตรประจําตัวประชาชนที่ออกโดยหนวยงานรัฐ
รับรองสิทธิการเปนพลเมืองไทย จึงไดรับสวัสดิการที่ครอบคลุมเฉกเชนชาวพื้นราบทั่วไป
2. แนวทางการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพ้นื ที่สูง
ประเด็นการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพื้นที่สูงพื้นที่บานผาหมี ตําบลเวียงพางคํา
อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
2.1 จัดระบบการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม ผานการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
หลักสูตรแกนกลางของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ควบคูกับหลักสูตร
พื้นบานซึ่งเปนองคความรูทองถิ่น (จารีต ประเพณี วัฒนธรรม พิธีกรรม) ทั้งนี้ใหบรรจุการศึกษา
แบบพหุวัฒนธรรมไวเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน
2.2 พัฒนาระบบการทองเที่ยวชุมชนใหเปนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อใหชุมชน
สามารถยังประโยชนดานเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการรักษาและคงไวซึ่งอัตลักษณ
ความเปนชาติพันธุอาขา โดยไมสูญเสียสิ่งหนึ่งสิ่งใดไป เปนการใชชีวิตอยางสมดุล
2.3 สงเสริมการมีสวนรวมของหนวยงานภาครัฐเพื่อสรางกระบวนการจัดการในการ
รักษาอัตลักษณจารีตประเพณีและวัฒธรรมของราษฎรบนพื้นที่สูงใหสามารถดํารงอยูคูกับการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม รวมถึงสรางความตระหนักรูใหแกเด็กและเยาวชนในการรักษาความเปน
รากเหงาของชาติพันธุของตนเอง
2.4 สรางเครือขายการพัฒนาที่มีความหลากหลายทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม จิตอาสา และอาสามัครตาง ๆ บูรณาการความรวมมือและดึงเครือขายดานความ
รับผิดชอบตอสังคม หรือ CSR : Corporate Social Responsibility เขามาสนับสนุนและสงเสริม
การสรางโอกาสและยกระดับทั้งสังคม สิ่งแวดลอม และคนแบบยั่งยืน ค
2.5 นําเทคโนโลยีสมัยใหมมาปรับใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานไดอยางสะดวก
รวดเร็ว ลดความซ้ําซอน และงายตอการเขาถึงของผูใชบริการและสะดวกตอการใหบริการ
ของหนวยงานที่เกี่ยวของ
2.6 สรางอํานาจตอรองราคาสินคา โดยการรวมกลุมของเกษตรกรในชุมชน
ลดปญหาการถูกเอาเปรียบดานการตลาดจากพอคาภายนอก รวมถึงนําแนวคิด BCG MODEL มารวม
เปนสวนหนึ่งในการสรางกลไกในการเสริมสรางชุมชนบานผาหมีใหเกิดความมั่นคง และเขาถึงประเด็น
ความมั่นคง ทั้ง 5 ดานภายใตหลักสิทธิขั้นพื้นฐานและหลักประกันทางสังคม
2.7 สํารวจและจัดเก็บขอมูลราษฎรบนพื้นที่สูงครอบคลุม 5 มิติ (สุขภาพ ความเปนอยู
การศึกษา รายได การเขาถึงบริการรัฐ) ใหเปนปจจุบัน ผานเครื่องมือที่เรียกวา “สมุดพกครอบครัว”
และบันทึกขอมูลในระบบ MSO-Logbook ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
เพื่อวิเคราะหและกลั่นกรองสภาพปญหา หาแนวทางแกไข สงเสริม พัฒนาและฟนฟูใหราษฎรบนพื้นที่
สูงมีคุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคง ยั่งยืน
ขอเสนอแนะ
จากผลการวิจัย พบวา แนวทางการสรางความมั่นคงของมนุษยบนพื้นที่สูงบรรลุ
วัตถุประสงคไดตองเริ่มจากความตระหนักรูของราษฎรบนพื้นที่สูง ควบคูกับการบูรณาการการทํางาน
รวมกับหนวยงานรัฐ และดึงศักยภาพของเครือขายเขามีสวนรวม โดยผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพิ่มเติม
ตอการสรางความมั่นคงบนพื้นที่สูง ดังนี้
๑. ขอ เสนอแนะระดับนโยบาย
๑.1 การกําหนดนโยบายการฟนฟูอนุรักษวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี
และการแกไขปญหาความยากจนที่สอดคลองกับบริบทของภูมิสังคมของชุมชนบนพื้นที่สูงอยางแทจริง
๑.2 การพัฒนาระบบฐานขอมูลระดับครัวเรือนและระดับบุคคล ที่สามารถนํามาใช
ระบุกลุมเปาหมายผูมีรายไดนอย ผูดอยโอกาสและกลุมเปราะบางทางสังคม เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย
ที่สอดคลองกับการแกไขปญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ําในสังคมใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
๑.3 ภาครัฐควรใหความสําคัญกับการแกไขปญหาและพัฒนาพื้นที่สูงอยางตอเนื่อง
โดยการจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาที่เพียงพอและเหมาะสม
๑.4 ภาครัฐควรคํานึงถึงความละเอียดออนของปญหาดานความมั่นคงตามแนว
ชายแดน ควบคูกับการสรางความสมดุลของการพัฒนาทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติบนพื้นที่สูงเพื่อปองกันการหวนกลับไปลักลอบปลูกพืชเสพติดเชนเดิม
๒. ขอ เสนอแนะระดับปฏิบัติการ
๒.1 เสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการพึ่งพาตนเอง และสรางภูมิคุมกัน
ทางอัตลักษณ จารีต ประเพณี ใหกับสมาชิกชุมชนบนพื้นที่สูง
๒.2 สรางอาสาสมัคร (จิตอาสา) บนพื้นที่สูง และพัฒนาศักยภาพผูนําชุมชน
อาสาสมัคร และภาคีเครือขายใหมีความรู ความเขาใจเรื่องการจัดสวัสดิการสังคม และการดูแล
กลุมเปาหมายบนพื้นที่สูงทุกชวงวัย เพื่อใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน ง
๒.3 สงเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือนใหมีขีดความสามารถในการจัดการ
วางแผนการดําเนินชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ การศึกษา และการเขาถึงบริการรัฐ
ใหเกิดการจัดการตนเองอยางถาวร
๒.4 การสงเสริมและใหความรูความเขาใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแกราษฎรบนพื้นที่สูง
เพื่อยึดถือและนําไปปฏิบัติอยางจริงจัง เนื่องจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางในการ
แกไขปญหาความยากจนที่มีความเหมาะสมกับสภาพของครัวเรือนของไทยมากที่สุด
3. ขอ เสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งตอไป
ควรมีการวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนและชุมชนบนพื้นที่สูง
ไดแก
๓.1 การวิจัยเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการเพื่อความมั่นคงของชีวิตของชุมชนบนพื้นที่สูง
๓.2 การสรางความเขมแข็งและการสรางภูมิคมุ กันของชุมชนบนพื้นที่สูง
๓.3 การเสริมสรางศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูงโดยเนนการมีสวนรวมในการแกไข
ปญหาความยากจน จ
abstract:
Title Guidelines for Building Human Security on the Highlands:
Case Study of Ban Pha Mee Village, Wiang Phang Kham SubDistrict, Mae Sai District, Chiang Rai Province.
Field Strategy
Name Chokchai Wichianchaiya Couse NDC Class 65
This academic research aims to 1) study the social context of the
communities living on the highland, and 2) study the guideline to resolve problems
and obstacles on the highlands through the Qualitative Research method based on
Folkloristics: collecting data from the documents, textbooks, research journals,
academic journals, and field data via learning and locals’ participations under
knowledge and community data base with emphasizing the procedure of
stakeholders’ participations from 30 Akhas residing in Ban Pha Mee Village, Wiang
Phang Kham Sub-District, Mae Sai District, Chiang Rai Province, including community
leaders, elderlies, local wise men or whom worshipped as wisdom scholars, and
religious leaders. The researcher himself has analyzed both Qualitative Data and
Content Analysis, and compiled via Analytic Induction.
The results can be summarized according to the objectives as follows:
1. Bam Pha Mee Highland Community’s Social Context under
5 Aspects of Human Security
The researcher has defined the Ban Pha Mee Village, Wiang Phang
Kham Sub-District, Mae Sai District, Chiang Rai Province, to be the study area of
highland community where Akhas lives, which its social context under 5 aspects of
human security can be summarized as follows:
1.1 Health Aspect: The result conveys that the health issues of Akhas
in Ban Pha Mee Village is related to the lifestyles such as respiratory disease,
musculoskeletal disease, high blood pressure, diabetes, all are resulted from farming
that involved with the use of pesticide to control product quality. Moreover, Akhas’
food consumption has been converting throughout the society, and the smog from
the cross-border forest fire from connecting to Myanmar territory resulted in their
respiratory diseases. The Ban Pha Mee Health Promoting Hospital, and the village
public health volunteers are the main mechanism to take care household hygiene,
whereas the Wiang Phang Kham Municipality jointly promote the health within,
prevent, monitor, and control both contagious and non-contagious diseases in the area; ฉ
1.2 Well-Being Aspect (Residency): The result conveys that the land
acquisitions for living and farming come from the ancestors in the past under the Doi
Tung Palace’s regulation, in which the righteous documents cannot be sold or
exchanged into funding (money) for investing in occupations nor business; capable
only for heritages for the next generations, while the Royal Forest Department does
not permit the Akhas to enter and take advantage from the conservative forest but
promote the community to live with the forest sustainably;
1.3 Education Aspect: The result conveys that more local children have left
the area to study in flat-ground schools due to their attitudes in quality of education, which
their parents has supported and focused on their children’ education more than one in the
past, and the children tended to work outside the area or other provinces once graduated.
Moreover, the Christian evangelism in the area has influenced through the scholarships in
change of the religion, resulted in the fade of Akha’s traditional culture and lifestyle;
1.4 Income Aspect: The result conveys that the government policy of
promoting tourism resulted in Ban Pha Mee Village to open areas for nature tourism
attraction, creating more entrepreneurs for tourism, accommodations, homestays,
restaurants, coffee shops with Akha’s lifestyle, culture, and identity as the selling point.
This not only creates incomes to both entrepreneurs and locals, but also attracts
more workers transferred from Myanmar for agriculture and services in Ban Pha Mee;
1.5 Access to Government Service Aspect: The result conveys that
there were inequalities in government welfare access between Akha highlanders and
people living on the flat ground such as rights to hold the identity card, medical
treatments, education. However, these inequalities are reduced nowadays since the
Akhas hold the their identity cards from the government to obtain all rights to be
Thai citizens, which cover all welfares as same as other people living on the flat
ground.
2. Guidelines for Building Human Security on the Highlands
The procedures to build human security on Ban Pha Mee Highland,
Wiang Phang Kam sub-district, Mae Sai district, Chiang Rai province, includes as
follows:
2.1 Establishing the Multicultural Educational System: through the
integrated core curriculum from Office of the Basic Education Commission (OBEC) in
conjuction with local curriculum which is based on local knowledge (norms, traditions,
cultures, rituals), in which this multicultural educational system will be concluded as
part of the curriculum; ช
2.2 Developing the Community Tourism System into Ecotourism: in
order for community to still take benefits in economy and environment in conjuction
with maintain and preserve the Akha’s identity without losing anything and living with
balance;
2.3 Promoting the Participation from the Government: in order to
manage in maintaining identity of norms, traditions, and culture of highlanders to be
able to live along with changes in society, and to acknowledge their children and
youth to preserve their own indigenous root;
2.4 Establishing Various Networks: throughout the government agencies,
private sectors, civil societies, volunteers, and volunteer workers with integrated
cooperation and corporate social responsibilities (CSRs) to support, promote
opportunities, and raise up the society, environment, and people sustainably;
2.5 Introducing Modern Technology to Adapt: to increase efficiency with
convenience, speed, decrease in redundancy, and easiness to access from the clients
and the service providers from relevant agencies;
2.6 Creating Bargaining Power: by the integration of farmers in the
community in order to reduce from being taken advantage from outside merchants ,
and to comply the BCG Model concepts integrated in mechanism of strengthening
Ban Pha Mee community its stability and reach to 5 aspects of human security under
basic rights and social security;
2.7 Surveying and Collecting Census of Highlanders: covering all 5 aspects
(Health, Well-Being, Education, Income, and Access to Government Service) to be upto-date via the tool titled “MSO Logbook” and recording into MSO-Logbook system
created by the Ministry of Social Development and Human Security in order to
analyze and separate the problem conditions and seek the solutions, promote,
develop, and restore highlanders for their better, more stable, and more sustainable
quality of lives.
Recommendations
According to the research, the Guidelines for Building Human Security on
the Highland must be based on highlanders’ acknowledgement in conjuction with
integrated cooperation from the government agencies and networks’ potentials, in
which the researcher provides the recommendations for this topic as follows: ซ
1. Policy Level
1.1 Formulating the policies to restore and preserve local lifestyle,
traditions, norms, and culture, and to solve poverty in conjunction with highland
community’s social context;
1.2 Developing database system, at the household level and individual
level, that can identify the target groups of low-income, underprivileged, and socially
vulnerable group, in order to propel policies in conjuction with solving poverty and
inequality in the society for the utmost efficiency;
1.3 Emphasizing the government sector in solving problems and
developing highlands continuously through budget relocation for adequate and
appropriate development;
1.4 Emphasizing the government sector to realize the sensitivity in
border security issues along with balance in development of economy, society, and
natural resources conservation on highlands to prevent the return of growing and
smuggling addictive plants as before.
2. Operational Level
2.1 Raising community’s potentials to rely on itself, and create
protection in its identity, norms, and cultures towards the community highlanders;
2.2 Creating volunteer workers (volunteer) on the highland, and raise
potentials among community leaders, volunteers, and the networks to have
knowledge, to understand the social welfare management, and to take care the allaged target groups on the highland for sustainable self-rely;
2.3 Enhancing the adaptation at the household level for its capacity in
permanent management of well-being, health, family, finance and occupation,
education, and access to government service;
2.4 Enhancing and acknowledging highlanders the Sufficiency Economy
Philosophy (SEP) to uphold and put into regular practice since the SEP is the most
appropriate guideline to solve poverty in Thai household condition.
3. Recommendations for Further Research
It is recommended to conduct further research in issues relevant to
the development in quality of life and community as follows:
3.1 Conducting research on welfare management for the stability in
quality of communities on the highlands;
3.2 Establishing strength and protection of highland communities;
3.3 Enhancing potentials in high communities through emphasizing the
participation in solving poverty. ฌ