เรื่อง: กรอบแนวทางการจัดทำกลยุทธ์การบริหารจัดการน้ำเสียชุมชนประเทศไทยอย่างยั่งยืน, (วปอ.9800)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายชีระ วงศบูรณะ, (วปอ.9800)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง กรอบแนวทางการจัดท้ากลยุทธ์การบริหารจัดการน้้าเสียชุมชนของประเทศ
ไทยอย่างยั่งยืน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายชีระ วงศบูรณะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
การศึกษาวิจัยเรื่อง กรอบแนวทางการจัดท้ากลยุทธ์การบริหารจัดการน้้าเสียชุมชนของ
ประเทศไทยอย่างยั่งยืน รูปแบบการวิจัยแบบประสานวิธี (Mixed Method) ประกอบด้วยการวิจัย
เชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษากรอบแนวทางการจัดท้ากลยุทธ์
การบริหารจัดการน้้าเสียชุมชนประเทศไทย 2. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของกรอบแนวทางจัดท้า
กลยุทธ์การบริหารจัดการน้้าเสีย 3. เพื่อเสนอกรอบแนวทางการจัดท้ากลยุทธ์การบริหารจัดการน้้า
เสียชุมชนประเทศไทย ซึ่งผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลได้แก่ 1. การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส้าคัญ จ้านวน 6 ท่าน โดยผู้วิจัยใช้การสุ่มแบบเจาะจงและ
ด้าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ด้วยค้าถามที่มีโครงสร้างที่แน่นอนปลายเปิด และสัมภาษณ์
เป็นแบบเป็นทางการ การบันทึกภาพและเสียงระหว่างการสัมภาษณ์2. การวิจัยเชิงปริมาณ
การเก็บและรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่เก็บจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในพื้นที่ชุมชน
เทศบาลเมืองแพรกษา อ้าเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ จ้านวน 400คน และผู้วิจัยด้าเนินการสุ่มตัวอย่าง
โดยวิธีการสุ่มแบบแบบโควตาตามจ้านวนประชากรทั้ง 6 ชุมชน
ผลการวิจัยพบว่า 1. กรอบแนวทางการจัดท้ากลยุทธ์การบริหารจัดการน้้าเสียชุมชน
ประเทศไทย ยังขาดการประเมินสถานการณ์น้้าเสียในท้องถิ่นอย่างชัดเจน ดังนั้น องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นควรมีการการประเมินสถานการณ์น้้าเสียในท้องถิ่นอยู่เสมอ โดยควรแยกผลการประเมิน
ออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับรุนแรงหรือระดับเร่งด่วน ระดับปานกลาง และระดับไม่รุนแรง เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการจัดท้าแผนงานเพื่อปรับปรุงแก้ไขตามความจ้าเป็นในการเรียงล้าดับความส้าคัญก่อน
และหลัง เพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณและความต้องการของชุมชน 2. สภาพปัญหาและอุปสรรค
ของการบริหารจัดการน้้าเสียในชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ส้าคัญมากคือ ปัญหาด้านการ
ขาดจิตส้านึกด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชน ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดให้มี
กิจกรรมการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลด้านการจัดการน้้าเสียและสิ่งปฏิกูลในชุมชน เพื่อให้
ความรู้และเป็นการรณรงค์ให้คนในชุมชนได้รับรู้ เข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่น้าไปสู่การปล่อย
ของเสียออกสู่แหล่งน้้าในชุมชน 3. พบว่า การวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ โดยการใช้เครื่องมือ SWOT Analysis
เพื่อวิเคราะห์จัดล้าดับความส้าคัญที่มีผลกระทบต่อการด้าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
การจัดการน้้าเสียชุมชนเป็นประเด็นที่ส้าคัญที่สุดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องวิเคราะห์ปัจจัย
ที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ก็เพราะปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะเป็นข้อมูลที่ส้าคัญที่จะช่วยให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นสามารถที่จะจัดท้าแผนการด้าเนินงานและแผนกลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อเข้าไปปรับปรุงและ
พัฒนาการจัดการน้้าเสียชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความยั่งยืนข
ดังนั้น เพื่อให้การศึกษาครั้งต่อไปเกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยควรมุ่งเน้นการศึกษา
ด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมและชุมชนในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การบริหาร
จัดการน้้าเสียในชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยมุ่งเน้นการ
ค้นคว้าเกี่ยวกับความร่วมมือของภาคประชาสังคมและชุมชนที่จะช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้เกิดการ
พัฒนาการบริหารจัดการน้้าเสียในชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพค
abstract:
Title Guidelines for Sustainable Community Wastewater Management
Strategies in Thailand
Field Science and Technology
Name Mr.Chira Wongburana Course NDC Class 65
The research study employs a mixed-method research model comprising
qualitative and quantitative research methodologies. The objectives of this study are
as follows: 1. To examine the existing framework for developing community
wastewater management strategies in Thailand. 2. Analyze the challenges and
obstacles inherent in the current framework for formulating wastewater management
strategies. 3. To propose an enhanced framework for preparing wastewater management
strategies tailored explicitly to Thai communities. The researcher collected data
through the following methods: 1. Qualitative Research: Data collection involved
conducting interviews with six key informants. The researcher employed purposive
random sampling, personally gathering data by open-ended questions during the
interviews, which were recorded through video and audio. 2. Quantitative Research:
Data was gathered through questionnaires distributed to a sample of 400 individuals
residing within the Muang Bhakasa Municipality community in the Muang District of
Samut Prakan Province. The researcher conducted random sampling using a quota
random sampling approach that aligned with the population distribution across all six
communities.
The research results were as follows: 1. Guideline for the Development
of Community Wastewater Management Strategies in Thailand still need to have
clear assessment of the local wastewater situation. Consequently, it is imperative for
local government entities to evaluate the local wastewater situation consistently.
These assessment outcomes should be categorized into three levels: severe or
urgent, moderate, and mild. This categorization will serve as a reference for devising
a sequential improvement action plan, prioritized based on urgency. Subsequently,
alignment with the community's budgetary constraints and requirements is
necessary.2. Identifying Issues and Obstacles in Community Wastewater Management
under Local Government Organizations is significant. The issue of inadequate
environmental awareness among community members stands out, necessitating
proactive measures by local administrative bodies. These measures should include
organizing public relations initiatives and disseminating information on wastewater ง
and sewage management within the community. The objective is to educate and
raise awareness among community residents, fostering comprehension of the need
to alter behaviors that contribute to waste discharge into local water sources. 3. The
study revealed that employing the SWOT Analysis tool to assess a range of factors
influencing the performance of local government entities in community wastewater
management emerges as a critical necessity. Analyzing these pertinent factors is
essential, as the insights gleaned therein will enable local government organizations
to make operational and strategic plans for effective and sustainable enhancement
of community wastewater management practices. Therefore, to enhance the utility
of subsequent studies, researchers should emphasize the augmentation of civil
society and community involvement in actively implementing local governmentdriven community wastewater management strategies. This emphasis should center
on research collaborations with civil society and community entities to help
effectively improve wastewater management in these communities run by local
governments. จ