เรื่อง: การดำเนินยุทธศาสตร์ของจีนในยุคสีจิ้นผิง : ผลกระทบกับยุทธศาสตร์ความมั่นคงของไทยและแนวคิดในการรองรับ, (วปอ.9796)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ชาครีย์ ภัทรพงศ์กุล, (วปอ.9796)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง ความมุ่งมั่นในการด าเนินยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจของจีนยุคสีจิ้นผิง :
แนวคิด อิทธิพล และผลกระทบต่อประเทศไทยรวมทั้งแนวทางการรองรับ
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลตรี ชาครีย์ ภัทรพงศ์กุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
จากสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ และการแข่งขันช่วงชิงกันเป็นผู้น าทางภูมิ
รัฐศาสตร์ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิค ระหว่างมหาอ านาจเดิม คือ สหรัฐอเมริกา และมหาอ านาจใหม่
อย่างจีน ในปัจจุบันและมีแนวโน้มว่าจะยังคงมีความเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต จนอาจ
กลายเป็นการปะทะกันระหว่างประชาชาติ (Clash of Nations) เหมือนในอดีต โดยมีตัวเปลี่ยนเกมส์
หรือตัวเร่งขนาดใหญ่ในกระบวนการเปลี่ยนผ่านดุลอ านาจของโลกไปสู่สองขั้วอ านาจ ท าให้โลก
ต้องเผชิญความตึงเครียดระหว่างรัฐต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
ในประวัติศาสตร์การเมืองของโลกมหาอ านาจในอดีต สามารถก้าวขึ้นเป็นมหาอ านาจ
ได้ง่าย ในห้วงเวลาที่สั้น แต่การก้าวขึ้นเป็นมหาอ านาจใหม่ในปัจจุบันจะใช้เวลาและการฟันฝ่า
อุปสรรคที่ยากล าบากมากขึ้น ทั้งนี้การแข่งขันเพื่อชิงความเป็นมหาอ านาจในหลายสมัยส่วนใหญ่จบลง
ด้วยสงคราม เสมือนการติดกับดักแห่งอ านาจของทูซิดิดิส นักการทหารชาวเอเธนส์ หรือจ าเป็นต้องใช้
สงครามในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศตามทฤษฎีของนักการทหาร
อย่าง เคล้าส์ เซวิตส์ ที่ระบุว่าสงครามคือ การเมืองที่ด าเนินไปในวิถีทางอื่น
การพัฒนายุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจของจีน โดยเฉพาะยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่ง
เส้นทาง (BRI) เป็นมหายุทธศาสตร์ที่เป็นผลส าเร็จอันเนื่องมาจากความมั่นคงทางด้านการเมือง
โดยจีนได้ประยุกต์ผสมผสานแนวคิดของมาร์ก-เลนิน คุณธรรมแบบขงจื้อ และ อดัม สมิธ สร้าง soft
power ในเรื่องความริเริ่มความมั่นคงโลก GSI ความริเริ่มการพัฒนาโลก (GDI) และความริเริ่ม
อารยธรรมโลก (GCI) ตามแนวคิดของโจเซฟ ไนล์ เป็นปัจจัยเกื้อหนุนในการเสริมสร้างพลังอ านาจ
ของชาติ ในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ ทั้งนี้ความมั่งคั่งและมั่นคงทางเศรษฐกิจของจีน มิได้เป็น
เพียงการคุ้มครองเศรษฐกิจและผลประโยชน์ของชาติเท่านั้น การที่จีนมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยี รวมทั้งการพึ่งพาตนเองตามความฝันของจีน (China Dream) ด้วยการน าพาประเทศจีน
กลับมาสู่ความยิ่งใหญ่นั้น รวมทั้งการสร้างระเบียบโลกใหม่ตลอดจนระบบการเงินใหม่ (หยวนดิจิทัล)
นอกจากนี้จีนมีเป้าหมายในการเสริมสร้างค่านิยมทางทหารและเพิ่มพูนแสนยานุภาพทางทหาร
ในทุกมิติ ซึ่งนอกจากการพัฒนาหลักคิดตามหลักการสงครามของซุนวูแล้ว การเรียนรู้และตอบโต้
แนวคิดสัจจนิยมเชิงรุก ตามแบบของ จอห์น เมียร์สไชม์เมอร์ ท าให้จีนเร่งพัฒนาปรับปรุงกองทัพ
อย่างมุ่งมั่น และเป็นประเด็นความหวาดระแวง (dilemma) จากมหาอ านาจเดิมคือสหรัฐอเมริกา
ที่ด าเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ในการสกัดกั้นและปิดล้อมจีนในทุกมิติ ตามยุทธศาสตร์ Free and
Open Indo-Pacific ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร โดยเฉพาะภูมิภาค อินโดแปซิฟิก เช่น การก่อตั้งกลุ่ม QUAD กลุ่ม AUKUS รวมทั้งประเทศในทวีปเอเชีย ที่มีปัญหากับจีน
เพื่อเป็นพันธมิตรในการสกัดกั้นอิทธิพลของจีนข
ผลการวิจัย พบว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของจีนจากอดีตที่เคยเป็นประเทศหนึ่งที่ยากจน
ที่สุดในโลกมาสู่ประเทศที่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 2 ของโลก ได้ผ่านพัฒนาการของ
ความยากล าบากจนสามารถก้าวพ้นจากประเทศที่ติดกับดักรายได้ปานกลางและมีจุดมุ่งหมายให้
ประชาชนอยู่ดีกินดีถ้วนหน้า ในปี 2035 ซึ่งมีแนวโน้มว่ามีความเป็นไปได้สูงโดยจีนได้ใช้ยุทธศาสตร์
7 ด้าน, ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งยุทธศาสตร์จากการประชุม
สมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์ เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจท าให้สามารถเผชิญกับสงคราม
การค้า และโควิด-19 ได้ และมีการมุ่งเน้นเป้าหมายเฉพาะพื้นที่ รวมทั้งมีมาตรการอุดหนุนส่งเสริมที่ดี
และมีประสิทธิภาพ ท าให้การแก้ไขปัญหาความยากจนของจีนมีผลเป็นรูปธรรม ไทยจึงควรประยุกต์
วิธีการยุทธศาสตร์ของจีนในการจัดการแก้ไขปัญหาความยากจน แม้จะมีระบบการเมืองคนละระบบ
แต่หากไทยใช้ระบบประชาธิปไตย ที่มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มแข็งก็น่าจะสามารถพัฒนา
เศรษฐกิจให้พ้นจากกับดักรายได้ปานกลางได้ ทั้งนี้ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนได้ส่งผลดี
ต่อการส่งออกของไทยไปด้วย อย่างไรก็ตามการที่ไทยพึ่งพาเศรษฐกิจจากจีนอย่างมาก ดังนั้น
การแข่งขัน สกัดกั้นอิทธิพลของจีนโดยสหรัฐฯ และพันธมิตรก็จะส่งผลกระทบต่อไทยในทุกด้าน
การถ่วงดุลอ านาจระหว่างมหาอ านาจทั้งสองเพื่อความอยู่รอดและการรักษา
ผลประโยชน์ของชาติจึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและต้องด าเนินการด้วยความรอบคอบ มิให้เกิด
ความเหลื่อมล้ าจนมหาอ านาจอีกฝ่ายยอมรับไม่ได้ ซึ่งอาจเกิดการบีบคั้นให้สูญเสียความเป็นกลาง
และได้รับผลกระทบจากอ านาจอิทธิพลของอีกฝ่าย ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร
การบริหารความเสี่ยงจะต้องเป็นไปอย่างรอบคอบและอาศัยความร่วมมือจากกลุ่มการเมือง
กลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาค รวมทั้งอาจจ าเป็นต้องพึ่งพามหาอ านาจขนาดกลางอื่นๆในการถ่วงดุลอ านาจค
abstract:
Title Chinese Economic Strategies in the Xi Jinping Era : Concepts,
Influences including Impacts on Thailand and how to get by
Field Strategic
Name Major General Chakri Pattarapongkul Course NDC Class 65
Strategic environment and competing for geopolitical leadership in the
Indo-Pacific region between the old superpower, the United States and the new
superpower, China has caused the world to face increasing tensions between
countries.
In the history of world politics, it does not take much time for ones to
become superpowers. Nevertheless, in the new world, ones have to take great effort
to become superpowers. Competing for superpowers usually ended in war as if
trapped by the power of Thucydides, Athenian military man or “it is necessary to use
war to solve political conflicts between countries” according to Clausewitz saying war
is politics in another mean.
China's economic strategy development, in particular, the Belt and Road
Initiative (BRI), is a successful strategy due to political stability. China has applied a
combination of ideas of Mark-Lenin, Confucian virtues and Adam Smith and create
soft power in the Global Security Initiative (GSI), the Global Development Initiative
(GDI), and the Global Civilization Initiative (GCI), according to Joseph Nile. China's
economic prosperity and stability is not only the protection of the economy and
national interests. China's focus on economic and technological development
including self-reliance according to the China Dream by bringing China back to
greatness, including the creation of a new world order as well as a new monetary
system (Digital Yuan) has caused China to accelerate the development of the army
as well as dilemma issue for the former superpower, the United States, that has
implemented policies and strategies to intercept and encircle China in all dimensions
according to the Free and Open Indo-Pacific strategy in politics, economy, society
and military, especially in the region Indo-Pacific, such as the establishment of the
QUAD group, the AUKUS group, including countries in Asia with problems with China
as an ally in deterring Chinese influences.ง
The research has shown that China's economic development from
formerly one of the poorest countries in the world to the second most stable country
in the world has gone through hardships to the point of being able to become the
second most stable country in the world and aimed at universal well-being by 2035.
China has implemented seven strategies, National Economic and Social Development
Plan Strategy, and strategies from the Communist Party General Assembly as strategies for
economic development that can face trade wars and COVID-19. China focused on
specific goals as well as having good and effective subsidy. As a result, China's
poverty alleviation is very effective. In spite of different political systems, Thailand
should apply China's strategic approach to poverty alleviation. Thailand should be
able to move the economy out of the middle-income trap given that we apply law
enforcement strongly. China's economic growth has also benefited Thai exports.
However, with Thailand's reliance on China's economy, trying to discourage China's
influence by the United States and allies will affect Thailand in all aspects.
Balancing power between the two superpowers for survival and national
interest is therefore a delicate matter and must be handled with caution and not
causing disparity that the other cannot accept. It that happens we may be forced to
take side and affected by the influence of the other party, politically, economically,
socially and military wise. Risk management must be prudent and requires
cooperation from political groups, regional economic groups as well as relies on
other medium-sized powers to balance power.จ