เรื่อง: การส่งเสริมอาชีพให้ผู้กระทำผิดภายหลังพ้นโทษของผู้ประกอบการภาคเอกชน, (วปอ.9782)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางจิรภา สินธุนาวา, (วปอ.9782)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง การส่งเสริมอาชีพให้ผู้กระท าผิดภายหลังพ้นโทษของผู้ประกอบการ
ภาคเอกชน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางจิรภา สินธุนาวา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวการณ์จ้างงานของผู้พ้นโทษในปัจจุบัน
เจตคติและการยอมรับการจ้างงานผู้พ้นโทษของผู้ประกอบการภาคเอกชน และแนวทางการส่งเสริม
ให้สถานประกอบการภาคเอกชนรับผู้พ้นโทษเข้าท างาน เป็นการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง
แบบเฉพาะเจาะจง คือ ผู้ประกอบการภาคเอกชน จ าแนกเป็นระดับนโยบาย อาทิสภาหอการค้าไทย
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จ านวน 5 ราย และระดับพื้นที่ ครอบคลุมทุกประเภท ทุกขนาด
และทุกภาคของประเทศไทย จ านวน 80 ราย ตลอดจนผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจ
ด้านการก าหนดยุทธศาสตร์นโยบาย การส่งเสริมอาชีพ การพัฒนาคุณภาพแรงงาน เพื่อสนับสนุน
การประกอบกิจการของภาคเอกชน จ านวน 28 ราย ด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจาก
การศึกษาเอกสาร แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง พบว่า มีผู้ประกอบการภาคเอกชน
จ านวนไม่มากที่ยินดีจ้างงานผู้มีประวัติเคยต้องโทษในเรือนจ า ด้วยเหตุผลคือต้องการให้โอกาส
พวกเขามีรายได้หาเลี้ยงตนเอง ครอบครัว และให้โอกาสพวกเขาได้เรียนรู้ หาประสบการณ์เป็นการ
จ้างงานตามความรู้ความสามารถ ไม่ยึดติดกับอดีตหรือความผิดที่ผ่านมา เพื่อมิให้ผู้พ้นโทษหวน
กลับไปกระท าผิดซ้ า ในที่นี้ มีข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนรับผู้พ้นโทษ
เข้าท างานเพิ่มมากขึ้น ดังนี้ 1. การปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ที่เป็นอุปสรรค และก าหนดมาตรการ
ต่างๆ ที่เอื้อต่อการจ้างงานผู้พ้นโทษ 2. การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้โอกาสผู้ที่เคย
ก้าวพลาดและการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่ผู้พ้นโทษ 3. การเพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินงานและ
บทบาทการช่วยเหลือผู้พ้นโทษของศูนย์ CARE 4. การจ้างงานผู้พ้นโทษโดยหน่วยงานภาครัฐ
ทั้งแบบรายวันและรายเดือน เพื่อรองรับการด ารงชีวิตหลังออกจากเรือนจ าทันที5. การฝึกอาชีพ
และพัฒนาทักษะฝีมือผู้ต้องขังให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานของพื้นที่ตั้งเรือนจ าและภูมิล าเนา
ของผู้ต้องขัง และ 6. การเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับสถานประกอบการภาคเอกชนที่จะจ้างงาน
ผู้พ้นโทษ เช่น ปรับปรุงหลักสูตรการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา
“1 มหาวิทยาลัย/1 เรือนจ า” พร้อมกับสนับสนุนการทดสอบมาตรฐานความรู้ความสามารถของ
ผู้ต้องขัง พัฒนาระบบการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้ต้องขังก่อนปล่อยตัว
เพื่อ “คืนคนดีสู่สังคม” จัดระบบติดตาม และเยี่ยมเยียนผู้ประกอบการภาคเอกชนที่จ้างงานผู้พ้นโทษ
จัดระบบรับประกันภัยความเสี่ยงจากการจ้างงานผู้พ้นโทษ จ่ายค่าสินไหมทดแทนหากเกิดความ
เสียหายหรือเหตุการณ์ไม่คาดคิด เป็นต้นข
abstract:
Title Promoting occupation to the ex convict by the enterpreneur
Field Social-Psychology
Name Mrs. Jirapa Sintunava Course NDC Class 65
The objective of this research was to study the current employment
situation of ex-convicts, the attitudes and acceptances of ex-convicts employment in
the private sector enterprises, and ways to encourage private sector enterprises to
employ the ex-convicts. It is a study based on the private sector enterprises being
classified into 5 policy-based enterprises and 80 area-based enterprises of all types,
sizes, and in all parts of Thailand. This study also includes 28 government agencies
whose mission is to formulate strategies, career promotion and labor quality
improvement. It has been found that few private sector enterprises are willing
to employ people who have a history of being convicted in prison. The reasons of
employment are to provide the ex-convicts with the opportunity to earn a living for
themselves and their families, and to learn and gain experiences. The employment
is based on knowledge and competence regardless of their pasts or past offenses
in order to avoid recidivism of the ex-convicts. Recommendations to encourage more
private sector enterprises to employ ex-convicts are as follows: 1. Improvements
and amendments of laws that obstruct employment; 2. Outreach campaigns and
advertisements to give an opportunity to those who have gone wrong; 3. Optimizing
the performance and rescue roles of the CARE center to help the ex-convicts;
4. Employment of the ex-convicts by government agencies; 5. Vocational training and
skill development of inmates in accordance with the labor market of the prison area
and the prisoners' domicile; and 6. Strengthening the confidence of private sector
enterprises to employ ex-convicts such as improving the inmate habits development
curriculum by working with institutions “1 University/1 Prison” ; developing a physical
and mental health screening system for inmates before release; organizing, monitoring,
and visiting private sector enterprises who employ ex-convicts; providing an insurance
system for ex-convicts employment; and paying compensation for damage or
unforeseen events, etc.ค