Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, (วปอ.9775)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายคณิศร ขุริรัง, (วปอ.9775)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกบั สิทธิของผเู้สียหายในกระบวนการยตุ ิธรรมทางอาญา ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วจิัย นายคณิศร ขุริรัง หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่ ๖๕ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ผู้เสียหาย หมายถึงบุคคลที่ได้รับความเสียหาย อนั เนื่องมาจากการกระทา ความผิดฐานใดฐานหน่ึงตามที่ไดก้า หนดไวใ้นกฎหมาย โดยอดีตที่ผ่านมา รัฐได้ให้ความส าคญั กบั สิทธิของผูถู้กกล่าวหาในคดีอาญา มีการคุม้ครองสิทธิของผูถู้กกล่าวหา นบั ต้งัแต่ช้นั จบักุม ช้นั สอบสวน และช้นั พิจารณาพิพากษาคดีในฐานะเป็นประธานแห่งคดีผูถู้ก กล่าวหามีสิทธิในการมีส่วนร่วมในการคน้ หาความจริง สามารถเสนอขอ้เท็จจริงเขา้สู่กระบวนการ พิจารณาไดแ้ละไดร้ับสิทธิในการต่อสู้คดีอยา่ งเตม็ ที่ เป็นที่น่าสังเกตวา่ ไดล้ะเลยสิทธิของผูเ้สียหาย ในกระบวนการยตุ ิธรรมทางอาญาไปมาก ท้งัที่ตวัของผเู้สียหายน้นั เป็นผูท้ี่ไดร้ับผลร้ายโดยตรงจาก การกระทา ความผิดอาญาแต่การรับรองสิทธิของผูเ้สียหายกลบัแทรกอยู่ตามบทบญั ญตัิต่างๆ จึงมี แนวคิดใหค้วามสา คญั ต่อผถูู้กกล่าวหาและผูเ้สียหายโดยเท่าเทียมกนั อาทิมีการออกคา แนะนา ของ ประธานศาลฎีกา เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตัิต่อผูเ้สียหายในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๖๓ แต่ยงัไม่ สามารถคุม้ครองสิทธิของผเู้สียหายไดอ้ยา่ งครอบคลุม ผลการวิจยัสรุปไดว้า่ (๑) ในเชิงนโยบาย ควรมีการบญั ญตัิกฎหมายว่าดว้ยสิทธิของ ผูเ้สียหายข้ึนบงัคบั ใช้โดยเฉพาะเพื่อให้การคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายมีความชัดเจนและเป็ นไป อย่างเหมาะสม (๒) ควรมีการปรับปรุงอัตราค่าตอบแทนความเสียหายตามพระราชบัญญัติ ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จา เลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ และ กฎกระทรวงกา หนดหลกัเกณฑ์วิธีการและอตัราในการจ่ายค่าตอบแทนผูเ้สียหายและค่าทดแทน และค่าใชจ้่ายแก่จา เลยในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๖ ให้มีความเหมาะสมสอดคลอ้งกบั สภาพเศรษฐกิจ ในปัจจุบัน(๒) ในทางปฏิบัติควรมีการบัญญัติมาตรา ๗/๒ แห่งประมวลกฎหมายวธิีพิจารณาความอาญา โดยกา หนดให้ผูเ้สียหายในคดีอาญามีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากการถูกเปิดเผยขอ้ มูลส่วนบุคคล ไม่ว่าของผู้เสียหายเองหรือบุคคลใดๆ ที่มีความใกลช้ิด หรือหลกัฐานหรือสิ่งอื่นใดที่นา ไปสู่การ ระบุตัวผู้เสียหายหรือพยานในคดีร้ายแรง หรือคดีความผิดทางเพศ และได้รับการคุ้มครองจากการ ถูกเลิกจ้างจากการขาดงานตามระยะเวลาที่กา หนดไวใ้นกฎหมายว่าดว้ยแรงงานเพื่อเขา้ร่วมการพิจารณา และสืบพยานในศาลในคดีที่เกี่ยวกับตน และห้ามนายจ้าง เลือกปฏิบัติต่อลูกจ้างหรือเลิกจ้าง โดยอาศัยเหตุที่ลูกจ้างตกเป็ นผู้เสียหายในคดีอาญา ท้งัน้ีเพื่อให้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย สามารถนา มาใชบ้ งัคบั ในการคุม้ครองสิทธิของผูเ้สียหายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้สมบูรณ์สอดคล้องกับ ทิศทางของกฎหมายนานาประเทศมากยงิ่ ข้ึนข

abstract:

Title Issues Concerning the Rights of Victims in the criminal justice process Field Politic Name Mr. Kanisorn Khurirang Course NDC Class65 Within the criminal justice process framework, a victim is defined as an individual who has suffered harm resulting from the commission of an offense as stipulated by the law. Historically, the state has accorded higher priority to the rights of the accused in criminal cases, ensuring their protection during various stages such as arrest, investigation, and trial. As the presiding authority in a case, the accused is entitled to actively pursue truth, present factual evidence during the trial proceedings, and fully exercise their right to defend their case. Regrettably, victims' rights within the criminal justice process have largely been neglected. This oversight is notable, considering that victims are individuals directly impacted by the perpetration of a crime. Despite this, the assurance of victims' rights is enshrined in various legal provisions. Consequently, there exists a notion that places equal significance on both accused individuals and victims. For instance, recommendations from the President of the Supreme Court have been issued to underscore the equitable treatment of victims in criminal cases, as evidenced by the guidelines for victim treatment in criminal cases B.E. 2563. Nonetheless, these efforts still fail to protect victims' rights comprehensively. The research results lead to the following conclusions: (1) In terms of policy, it is recommended that a law specifically focused on victims' rights be enacted. This will ensure the transparent and appropriate protection of victims' rights. (2) The compensation rates for damages, as outlined in the Compensation for Victims and Compensation and Expenses for Defendants in Criminal Cases B.E. 2003, should be adjusted to align with current economic conditions. (3) In practical implementation, it is advised to establish Section 7/2 of the Criminal Procedure Code. This section would grant victims in criminal cases the right to protection from the disclosure of personal information. This protection extends to the victim, other individuals, intimate details, evidence, or any information leading to the identification of victims or witnesses, particularly in serious crimes or sex offenses. The victim should be shielded from dismissal due to absenteeism ค within the period specified by labor laws for attending hearings and providing testimony in court cases related to them. Furthermore, it is essential to prohibit employers from discriminating against employees or terminating their employment solely because the employee is a victim in a criminal case. This is intended to enable the utilization of the Thai Criminal Procedure Code to comprehensively safeguard the rights of victims throughout the criminal justice process, aligning more closely with the principles of international law. This is intended to enable the utilization of the Thai Criminal Procedure Code to comprehensively safeguard the rights of victims throughout the criminal justice process, aligning more closely with the principles of international law.ง