Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการตรวจสอบการดำเนินงานของผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวงกลาโหม, (วปอ.9773)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เกียรติสกุล จันทนา, (วปอ.9773)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางการพัฒนาการตรวจสอบการด าเนินงานของผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พล.ต.เกียรติสกุล จันทนา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕ การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการตรวจสอบการด าเนินงานของผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวงกลาโหม วัตถุประสงค์การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการตรวจสอบการด าเนินงานของ ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวงกลาโหม และศึกษาแนวทางการพัฒนาการตรวจสอบการด าเนินงานของ ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวงกลาโหม โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) ซึ่งผู้วิจัยใช้ระเบียบวิจัยน าเสนอข้อมูลและสรุปผลการศึกษาโดยใช้รูปแบบเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ผู้วิจัยได้ก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ทั้งสิ้นจ านวน ๑๕๐ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป ซึ่งผลการวิจัย สามารถสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ ดังนี้ ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง สังกัดหน่วยงานส านักงานตรวจสอบภายในกลาโหม และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ในต าแหน่งมากกว่า ๕ ปีขึ้นไป ข้อมูลสภาพปัญหาการตรวจสอบการด าเนินงานของผู้ตรวจสอบในสังกัด กระทรวงกลาโหม พบว่า ปัญหาด้านการติดตามผลการตรวจสอบ เป็นปัญหาระดับมากที่สุดในเรื่อง การรายงานผลการติดตามผลการตรวจสอบ ทั้งนี้ มีผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอแนะปัญหาอื่น ๆ เพิ่มเติม คือ การที่มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความรู้ความสามารถด้านวิศวก่อสร้างของผู้ตรวจสอบภายใน ในการที่จะตรวจสอบการด าเนินงาน และเรื่องที่หน่วยรับตรวจไม่สนับสนุนข้อมูลการตรวจ แนวทางการพัฒนาการตรวจสอบการด าเนินงานของผู้ตรวจสอบภายใน พบว่าแนวทาง การพัฒนาการติดตามผลการตรวจสอบ เป็นแนวทางที่ผู้ตรวจสอบภายในต้องการให้พัฒนาบุคลากร มากที่สุด ซึ่งพบว่าเป็นเรื่องที่ผู้ตรวจสอบภายในควรมีการติดตามผลการตรวจสอบตามระยะเวลา ที่ก าหนดไว้ในแผนการติดตามผลการ และรายงานผลการติดตามผลการตรวจสอบดังกล่าวให้หัวหน้า ส่วนราชการได้รับทราบ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ผู้วิจัยเสนอแนะเชิงนโยบายในส่วนจัดท าหลักสูตรการตรวจสอบ ภายในส าหรับผู้ตรวจสอบภายในสังกัดกระทรวงกลาโหมโดยเน้นการเรียนการสอนใน เรื่อง การตรวจสอบการด าเนินงาน และงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้น

abstract:

Title The research on the guideline for development Performance Audit of the internal audit of The Ministry of Defence. Field Military Name Maj.Gen. Kiatsakun Chantana Course NDC Class 65 The objective of this research is to identify current pain points operational audit flow process and aim to develop the work flow to make Performance auditing more efficient. This research will apply survey research method to collect the data and apply descriptive research to present the result. Researcher has determined the simple random sampling which will use 150 staffs as a sample group for collecting the data by using questionnaire as a tool and analyse by using statistical methods which are Mean and Standard Deviation from the computer program to calculate these figures. The result can be summarized following this. The main samples are Female which more than 5 years of working experience in internal audit department. According to the result from survey, we can identify that the major issue is the tracking report. Moreover, the other issue on the internal auditor is the limitation on the knowledge in construction engineering area, uncooperating from the department that have been audited. The development plan of Performance Audit of the internal audit of The Ministry of Defence is to developing the tracking report during the auditing process that timeline and the key information to the supervisor needed to be improved. The key development plan that auditors require is to focusing on the training program that the topic should cover the key method, the flow process and related topics.