Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาการกำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ของศาลยุติธรรมเมื่อไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธัชพงศ์ วิสุทธิสังวร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนาการกําหนดยุทธศาสตรและการดําเนินการตามยุทธศาสตรของ ศาลยุติธรรม เมื่อไทยเขาสูประชาคมอาเซียน ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายธัชพงศ วิสุทธิสังวร หลักสูตร วปอ.รุนที่ ๕๗ การวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษายุทธศาสตรของศาลยุติธรรม ศึกษาปญหาและอุปสรรคใน การกําหนดยุทธศาสตรและการดําเนินการตามยุทธศาตรของศาลยุติธรรม วิเคราะหสถานการณและ ผลกระทบตอการดําเนินงานของศาลยุติธรรมเมื่อไทยเขาสูประชาคมอาเซียน และเสนอแนะแนวทางการ กําหนดยุทธศาสตร และแนวทางการดําเนินงานของศาลยุติธรรมเมื่อไทยเขาสูประชาคมอาเซียน ขอบเขตของการวิจัย ศึกษาการกําหนดแผนยุทธศาตรของศาลยุติธรรมและปญหาอุปสรรคในการกําหนด ยุทธศาสตรการดําเนินงานตามยุทธศาสตรเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเตรียมความพรอมเมื่อไทยเขาสู ประชาคมอาเซียน และศึกษาขอมูลขอเท็จจริงเกี่ยวกับสภาวะแวดลอมที่มีผลกระทบตอการกําหนด ยุทธศาสตร ศึกษาแผนยุทธศาสตรและเอกสารวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวของของหนวยงานและองคกรอื่น เกี่ยวกับการเตรียมความพรอมเมื่อไทยเขาสูประชาคมอาเซียน วิธีการดําเนินการวิจัยเปนการวิจัยเชิง คุณภาพ ผลการวิจัยตามวัตถุประสงคขอแรกในสวนของการกําหนดยุทธศาสตร จากการศึกษา แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรมรวม ๔ ฉบับ พบวาแผนฉบับที่ ๒ คือ แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒ สอดคลองถูกตองตามตัวแบบการกําหนดยุทธศาสตร โดยนําสภาวะแวดลอมมา ประกอบการวิเคราะหเพื่อศึกษาผลกระทบตอการกําหนดนโยบายดวย สําหรับสวนที่ ๒ ผูวิจัยนําทฤษฎี เกี่ยวกับการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของศาสตราจารย ดร.วรเดช จันทรศร มาเปนกรอบแนวคิด ทฤษฎีในการวิเคราะห ผลการวิจัยพบวา ปญหาและอุปสรรคในการกําหนดยุทธศาสตรและการ ดําเนินการยุทธศาสตรของศาลยุติธรรม เมื่อศาลยุติธรรมแยกเปนอิสระจากฝายบริหารคือกระทรวง ยุติธรรม ระยะแรกมีปญหาการขาดแคลนนักวิชาการดานการวางแผนยุทธศาสตร ในชั้นปรับตัวตอมาเกิด ปญหาขอจํากัดทางการบริหาร คือการปรับเปลี่ยนโยกยายผูบริหารของศาลและผูปฏิบัติงานตามระบบ ราชการ ทําใหขาดการเชื่อมโยงตอเนื่องของผูกําหนดยุทธศาสตรและการนํานโยบายไปปฏิบัติ ปญหาการ ไมไดนําแผนยุทธศาสตรเดิมมาวิเคราะหและประเมินผลขอดีขอเสียเพื่อยุตินโยบายหรือพัฒนาตอเนื่อง ทําใหขาดความตอเนื่องและความยั่งยืนในการนําแผนและการนํานโยบายไปปฏิบัติ สําหรับผลกระทบตอ การดําเนินงานตอศาลยุติธรรมเมื่อไทยเขาสูประชาคมอาเซียน ผลการวิจัยพบวา ผลกระทบตามเสาหลัก ข ที่ ๑ ดานการเมืองและความมั่นคง มีผลที่สําคัญคือ จะเกิดปญหาอาชญากรรมขามชาติ เกิดความขัดแยง ทางสังคม อาชญากรรมเครือขาย ปญหาการกอการรายโดยการแฝงตัวจากการไรพรมแดนของประชาคม อาเซียน ปญหาผลกระทบจากเสาหลักดานเศรษฐกิจ มีผลกระทบ ประเทศไทยอาจสูญเสียศักยภาพ ในการแขงขันบางอยาง เกิดการเคลื่อนยายแรงงานมีฝมือ ๘ สาขา คือวิศวกร สถาปนิก นักสํารวจ แพทย พยาบาล ทันตแพทย นักบัญชี การบริหารการทองเที่ยว เกิดการนําเขาแรงงานผิดกฎหมาย ผลกระทบ ตามเสาหลักที่ ๓ ดานสังคม มีผลกระทบที่สําคัญคือปญหาดานสังคมและสาธารณสุขเกิดการเคลื่อนยาย แรงงานนักทองเที่ยวเสรี เกิดโรคระบาด ความขัดแยงทางสังคม เชื้อชาติ อาชญากรรมขามชาติ สวนผลกระทบดานกฎหมาย ไทยตองปรับปรุงแกไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายตามพันธกรณีที่บัญญัติไวใน กฎบัตรอาเซียนและตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกฎหมายเพื่อสรางภูมิคุมกันจากปญหาทั้ง ๓ เสาหลักขางตน เชนปญหาอาชญากรรม ปญหาดานสังคม ปญหาดานเศรษฐกิจสวนที่เกี่ยวของกับศาลยุติธรรม เชนปญหา ที่เกิดในคดีพิเศษ และคดีในศาลชํานัญพิเศษ เชนคดีผูบริโภค คดีสิ่งแวดลอม คดีลมละลาย คดีทรัพยสิน ทางปญหาและการคาระหวางประเทศ คดีแรงงาน และคดีภาษีอากร แนวทางการปรับตัวดานกระบวน ยุติธรรมของศาลยุติธรรม ตองพิจารณาเรื่องอํานาจศาลตามลักษณะคดี เรื่องเขตอํานาจ เรื่องเงื่อนไข การฟอง การสงหมาย การสืบพยานขามประเทศ การนําผลคําพิพากษาบังคับคดีขามประเทศ รวมถึง การระงับขอพิพาททางเลือกระหวางประเทศ และการคุมครองสิทธิของประชาชนในประชาคมอาเซียน ขอเสนอแนะเกี่ยวกับยุทธศาสตรของศาลยุติธรรมเพื่อการเตรียมพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ผูวิจัยเสนอ ใหศาลยุติธรรมกําหนดใหมียุทธศาสตร “การรวมกันพัฒนาระบบการอํานวยความยุติธรรมสูมาตรฐานของ อาเซียน” เพื่อใหมีการกําหนดมาตรฐานของอาเซียนดวยกันเองในกลุมประเทศสมาชิก ใหมีการปรับ โครงสรางปรับเปลี่ยนแนวคิดบุคลากรเกี่ยวกับการเขาสูประชาคมอาเซียนเสมือนหนึ่งเปนประเทศเดียวกัน การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและความรวมมือของบุคลากรดานกฎหมายภายในและกฎหมายระหวาง ประเทศทั้งฝายตุลาการและฝายธุรการในกระบวนการยุติธรรมของกลุมประเทศอาเซียนดวยกัน

abstract:

1 Abstract Title The development of strategy formulation and implementation of the Court of Justice toward the ASEAN Community era. Field Politics Name Mr. Thuchpong Visutthisungvorn Couse NDC Class 57 The objectives of this research are to study strategies of the Court of Justice, to identify the problems and obstacles of strategy formulation and implementation, to analyze situation and impact on the operation of the Court of Justice, and to give direction to strategic planning and implementation when entering to ASEAN Community era. The scopes of this research are to study strategy formulation and operation drawbacks, to identify of the environmental factors which affect on strategy initiation, and to study strategic planning, internal research papers, and external sources of information. Methodology of the study is a qualitative research. The study, from all four strategic plans of the Court of Justice, shows that the second strategic plan (2006 – 2009) was the most applicable to strategy implementation with the use of the environmental factors to analyze a set of policy. For the second part, the researcher applies the integrated theory of public policy implementation (written by Voradej Chandarasorn) to be a conceptual framework. The result of the research showed that the problems and obstacles of strategy formulation and implementation occur after separation of power from executive branch which is the Ministry of Justice. In the first stage, the problem is a lack of planning specialists. In addition, the job mobility of the court management teams and the lack of properly previous strategic plan evaluation result in the operating procedure to halt and also discontinue the improvement in policy implementation. The study revealed that those matters has affected on all three pillars 2 of ASEAN. Firstly, transnational crime, organized crime, and transnational terrorism have the effect on the first pillar which is the ASEAN Political-Security Community. Secondly, under the ASEAN Economic Community, loss of economic competition due to the free movement of the eight skilled labors - engineer, architect, explorer, physician, nurse, dentist, accountant, and tourism- and illegal labors have an impact on Thailand.The third pillar is related to the ASEAN Socio-Cultural Community which has the effect on social and public health, no border tourism, outbreak, social conflict, race, and transnational crime. For an impact on the legal perspective, Thailand must rectify the law to comply with ASEAN Charter and create legal immunity from all those three pillars; for example, the protection of criminal, social, economic issues which involved with the Court of Justice as well as the cases that are raised to the Specialized Court – consumer case, environmental case, bankruptcy case, intellectual property and international trade case, labor case, and tax case. The direction of the court procedure must be considered with the court jurisdictions, condition of filing complaint, delivery of warrants, cross border witness examination and judgment execution, including international alternative dispute resolution and right protection among ASEAN people. Recommendations for this study are to initiate the cooperative development on justice facilitation standard in ASEAN in order to create a similarity standard among state members, also to change the court structure, and to improve and seek out the international mutual cooperation between Judges and officials in ASEAN judicial system. 2