Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการฟื้นฟูและพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร, (วปอ.9772)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวเกรซ มหาดำรงค์กุล, (วปอ.9772)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางการฟื้นฟูและพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร ลักษณะวิชา สังคมจติวิทยา ผู้วิจัย นางสาวเกรซ มหาดํารงกุล หลักสูตร วปอ. รนุ่ ที่65 การศึกษาเรื่องแนวทางการฟื้นฟูและพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทพื้นที่และบริบททางวัฒนธรรมของชุมชนนางเลิ้ง เพื่อวเิคราะห์ปัญหาการฟนื้ ฟแูละพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้งและเพื่อศึกษาแนวทางใน การฟื้นฟูและพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้ง มาสรุปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และจากการสัมภาษณ์ จากกลุ่มตัวแทนประชาชนในพื้นที่ชมุ ชนนางเลิ้ง นักท่องเที่ยวในพื้นที่และบริเวณโดยรอบ และนําเสนอ ผลการวิจัยในรูปแบบบรรยายเชิงพรรณาทตี่ อบวัตถุประสงค์ของการวิจยั ในปัจจุบันสังคมไทยได้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบไปยัง วัฒนธรรมดั้งเดิม และทําใหว้ัฒนธรรมเหล่านั้นเริ่มสูญหายไป และคนในชุมชนอาจเพิกเฉยในคุณค่าของ ภูมิปัญญา ทําให้ยากต่อการสืบทอดวัฒนธรรม กรุงเทพมหานครมีชุมชนที่เป็นแหล่งกําเนิดของ วัฒนธรรมหลายชุมชน ซึ่งบางแห่งกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้คนรุ่นหลังและ นักทอ่ งเที่ยวได้สัมผัสกับวัฒนธรรมที่มีมาแต่ช้านาน หนึ่งในนั้นคือ ชุมชนนางเลิ้ง ที่ยังคงมีวัฒนธรรม วิถี ชีวิตความเป็นอยู่ อาหารท้องถิ่น ให้สืบสาน ฟื้นฟูและพัฒนา ซึ่งการวิจัยนี้ได้ศึกษากรณีแนวทางการ ฟื้นฟูและพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า บริบทพื้นที่ และบริบททางวัฒนธรรมของชุมชนนางเลิ้ง มีศักยภาพของทําเลที่ตั้งที่ทําให้เกิดจุดรวมกิจกรรมและ กลายเปน็ย่านของกลุ่มสังคม อาคารบ้านเรอืนมีสถาปัตยกรรมที่สวยงามและเป็นย่านที่ขึ้นชื่ออย่างมาก ด้านอาหารนานาชนิด และเป็นชุมชนมีวัฒนธรรมอันเก่าแก่ อันได้แก่ การแสดงละครชาตรีการแสดง โขน ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชุมชน นางเลิ้ง การดําเนินชีวิตและวัฒนธรรมในอดีตถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ประชาชนส่วนใหญ่ย้าย ออกไปนอกพนื้ ที่ที่มแีนวโน้มเศรษฐกิจที่ดกีว่า รวมถึงวฒั นธรรมตั้งแต่อดีตก็ค่อยๆถูกลืมและสญู หายไป ตามเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งแนวทางในการฟื้นฟูและพัฒนาวัฒนธรรมที่สูญหายของชุมชนนางเลิ้งนั้น เริ่มจากการสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน รว่ มมือกับภาครัฐและเอกชน สนับสนุนและพัฒนาชุมชนเพื่อเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่จะช่วย สรา้งงานสร้างรายได้ให้กับชุมชนและเสรมิสร้างคุณค่าทางวฒั นธรรมของชุมชนข

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines for Restoration and Development of The Lost Culture in Nang Loeng Community, Bangkok Field Social - Psychology Name Miss Grace Mahadumrongkul Course NDC Class 65 This dissertation entitled “Guidelines for Restoration and Development of The Lost Culture in Nang Loeng Community, Bangkok” This research aims to study the geographical context of the Nang Leung community in Bangkok and its cultural background in order to analyze the problems of fading culture faced by the community. The study also seeks to identify strategies for reviving and developing the lost cultural heritage of the Nang Leung community and disseminate the findings for the benefit of the community. The research methodology employed qualitative research methods, including document analysis, relevant research studies, and interviews with community representatives, tourists in the area, and surrounding regions. The research findings are presented ina narrativeformat to describeresults according tothestudy’sobjectives. In the recent times, Thai society has undergone rapid changes resulting in a significant impacton its traditional culture, leading tothegradual disappearanceof these cultural. Consequently, the people in communities may overlook the value of their cultural heritage, making it challenging to preserve and pass down their culture. Bangkok is home to several communities that have been the birthplace of various cultural practices, some of which have transformed into cultural tourism destinations. These destinations allow future generations and tourists to experience longstanding traditions. Oneof suchcommunity is Nang Leung community.This researchinvestigates the caseof the Nang Leung community in Bangkok and explores strategies for reviving and developing its lost cultural heritage. The research reveals that the community's location provides a potential advantage, possess focal points for activities and becomes a hub for social groups. The architectural beauty of the community's houses, diverse local cuisine, and ancient traditions, such as traditional theater performances and Khon dance, hold historical significance in economic and social development. However, traditional ways of life and culture have been replaced by modern technologies. The majority of the populationhas migrated toareas with better economic prospects, leading to the gradual loss and abandonment of cultural practices over time. The research suggests that revitalizationand cultural development strategies for the Nang Leung community should begin by fostering understanding and awareness among community members, creating opportunities for their participation, collaborating with the government and private sector, and supporting and developing the community as a cultural tourism destination.ค These efforts can not only help strengthen its cultural values but also generate income for thecommunity and strengthenits cultural values.