Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการต่อต้านและป้องกันการก่อการร้ายในทศวรรษ 2020 สำหรับหน่วยงานความมั่นคงไทย, (วปอ.9770)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายกิติภณ รื่นสัมฤทธิ์, (วปอ.9770)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการตอตานและปองกันการกอการรายในทศวรรษ 2020 สําหรับหนวยงานความมั่นคงไทย ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร ผูวิจัย นายกิติภณ รื่นสัมฤทธิ์ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 65 การกอการรายเปนภัยคุกคามสําคัญของประชาคมโลกมาตั้งแตทศวรรษ 17 โดยมี การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ และมีการพัฒนาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย สังคม และ เทคโนโลยี ทําใหการกอการรายยังคงเปนภัยคุกคามที่มีความรุนแรง และมีแนวโนมจะเพิ่มความ สลับซับซอนยากตอการปราบปรามหรือปองกันมากยิ่งขึ้น โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ภัยคุกคามดานการกอการรายที่เกิดขึ้นตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน แนวโนมการกอการรายที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ปญหาและขอจํากัดของการตอตานและปองกันการกอการรายที่ผานมา รวมทั้ง แนวทาง ตอตานและปองกันการกอการรายที่เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน โดยงานวิจัยนี้เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ ที่เนนการศึกษาขอมูลจากการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ เชิงลึก เจาหนาที่หนวยงานความมั่นคงที่มีความรูและประสบการณดานตอตานการกอการรายของไทย ผลการวิจัยพบวา สถานการณการกอการรายในตางประเทศในทศวรรษ 2020 มีแนวโนมทวีความรุนแรงและยังคงเปนภัยคุกคามหลักของโลก โดยกลุมกอการรายใชประโยชนจาก ความกาวหนาของเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการกอการรายมากขึ้น รวมทั้ง ใชประโยชนจากการสื่อสาร ทางออนไลนในการเผยแพรขอมูล ถายทอดอุดมการณ และชักชวนสมาชิกใหม ซึ่งมุงเปาไปที่กลุมเยาวชน โดยขอจํากัดสําคัญของการตอตานและปองกันการกอการรายของไทยคือ การขาดกฎหมายตอตาน การกอการรายกฎหมาย ที่ยังพัฒนาไมเ ทาทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและการขาดความตระหนักรู ของสังคม โดยรัฐบาลควรสงเสริมใหมีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของใหครอบคลุมถึงการกระทํา ความผิดในลักษณะของการพยายามใหเกิดเหตุกอการราย การใหอํานาจกับเจาหนาท่ีในการสืบสวน เพื่อปองกันเหตุรุนแรง รวมทั้ง ใหความสําคัญกับการดําเนินงานตามแนวทางการปองกันและการสราง ภูมิคุมกันในการรับมือภัยคุกคามดานการกอการรายใหมากขึ้นข

abstract:

Title The guidelines of Thai security agencies for Anti and Prevention terrorism in the 2020s Field Strategy Name Mr. Kitiphon Reunsumrit Course NDC Class 65 The terrorism has been a major threat to the global community since the 17th century. And has adjusted and developed according to the changes of the world, society and technology. So the terrorism still a serious threat and there is a tendency to increase the complexity that is difficult to suppress or prevent. The purpose of this research is to study the threats of terrorism that occurred from the past to the present, trends of terrorism that will occur in the future, problems and limitations of counter-terrorism, including counter-terrorism approaches that are suitable for the current changing conditions. This research is a qualitative research. Emphasis is placed on studying data from documentary research and in-depth interviews security officers with knowledge and experience in counter-terrorism in Thailand. The results showed that the situation of terrorism abroad in the 2020s is likely to intensify and remain a major threat to the global. Terrorist groups are increasingly taking advantage of technology advancements to support terrorism and use online communications to disseminate information convey ideology and persuade new members which is aimed to the youth peoples. The key limitations of countering and preventing terrorism in Thailand are Lack of Anti-Terrorism Laws and laws has not developed as much as the changes in technology, including lack of social awareness. The government should encourage the improvement of relevant laws to cover offenses in the form of attempted terrorism. Empowering officials to investigate and prevent violent incidents, including focusing on the implementation of prevention measure and building immunity in prevent with terrorism.ค