เรื่อง: การพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนเตรียมทหาร ชั้นปีที่ ๒ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน เรื่องสารชีวโมเลกุลDeveloping second year AFAPS student's Scientific Argumentation Skills that using Context-Based Learning in the topic of Biomolecules
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
เรือเอกหญิง กมลวรรณ ดีอยู่เจริญพร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
โรงเรียนเตรียมทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
194
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาพัฒนาการทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ของ นักเรียนเตรียมทหาร ชั้นปีที่ ๒ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน เรื่องสารชีวโมเลกุล กลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักเรียนเตรียมทหารชั้นปีที่ ๒ ทำการสุ่มแบบกลุ่ม จับฉลากห้องเรียน เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน ๑ ห้องเรียน ๓๕ นาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดย ใช้บริบทเป็นฐาน เรื่องสารชีวโมเลกุล จำนวน ๕ แผน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบ วัดทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ จำนวน ๕ สถานการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย ปรากฏว่า ก่อนจัดการเรียนรู้ นักเรียนเตรียมทหารส่วนใหญ่มีทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับที่ ๒, ๓ และ ๔ ตามลำดับ หลังจัดการเรียนรู้พบว่า ไม่มีนักเรียนที่มีทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์อยู่ใน ระดับที่ ๑ ส่วนใหญ่มีทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับที่ ๕ มากกว่าร้อยละ ๕๐ และ มีการ เปลี่ยนแปลงระดับทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์สูงสุด ๓ ระดับจากระดับเดิม
abstract:
This research purposed to study development of second year AFAPS student’s Scientific
Argumentation Skills that using Context-Based Learning in the topic of Biomolecules. The research
sample obtained by cluster random sampling , drawn into experimental groups that consisted of 35,
oneclassroom, second year AFAPS student.The employed research instruments comprised 5 learning
management plans in the topic of Biomolecules. The data collecting instrument is scientific
argumentation skills test, 5 situation. Data were analyzed using the mean. The research found that,
before learning, most of AFAPS student have scientific argument skill at level 2, 3 and 4, respectively.
After learning, it found that none of AFAPS student had scientific argument skill at level 1, most had
level 5 more than 50 percent and switched their performance of scientific argumentation into 3
higher level.