Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางบริหารจัดการองค์กรภาคประชาสังคมเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธวัชชัย ฤทธากรณ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดยอ เรื่อง แนวทางบริหารจัดการองคกรภาคประชาสังคมเพื่อสนับสนุนการแกไข ปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย นายธวัชชัย ฤทธากรณหลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๗ ประจําปการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ วัตถุประสงคการวิจัยมี2 ประการคือ เพื่อศึกษาบทบาทองคกรภาคประชาสังคมในจังหวัด ชายแดนภาคใตที่มีตอแนวทางการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตของรัฐบาล และเพื่อเสนอแนะ แนวทางการบริหารจัดการองคกรภาคประชาสังคมในจังหวัดชายแดนภาคใตใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ การแกไขปญหาความไมสงบตามแนวทางสันติวิธี การศึกษานี้ใชการวิจัยเชิงคุณภาพโดยรวบรวมขอมูล จากเอกสารที่เกี่ยวของ กิจกรรมองคกรภาคประชาสังคมที่ไดจากในพื้นที่ จชต. และสื่อสังคมออนไลน ผลการศึกษาพบวาองคกรภาคประชาสังคมใน จชต. เปนองคกรที่เกิดขึ้นตามกระบวนการ สันติภาพสากลเชนเดียวกับพื้นที่ขัดแยงอื่นทั่วโลก ไดรับการสนับสนุนแหลงทุนรวมถึงองคความรูจาก องคการระหวางประเทศและองคกรพัฒนาเอกชนตางชาติ ถือเปนตัวแสดงสําคัญในการแกไขปญหา ความขัดแยงเพราะสามารถเขาถึงประชาชนในระดับรากหญา จึงสามารถเปนตัวกลางในการสราง ความเขาใจระหวางรัฐกับประชาชนไดเปนอยางดี นับจากป 2547 จนถึงปจจุบัน ในพื้นที่ จชต. มี องคกรภาคประชาสังคมจํานวน 524 องคกร องคกรภาคประชาสังคมใน จชต. สงผลตอแนวทางการแกไขปญหา จชต. ทั้งในเชิงบวกและ เชิงลบ โดยผลเชิงบวกพบจากการทํางานของสภาประชาสังคมชายแดนใต มีบทบาทชวยเสริมสราง กระบวนการสันติภาพ รณรงคใหลดการใชความรุนแรง และเปนตัวกลางในการสอบถามความตองการ ที่แทจริงของประชาชนมานําเสนอตอรัฐ สวนผลในทางลบพบในกลุมองคกรภาคประชาสังคมเครือขาย PerMAS เนื่องจากกลุมนี้มีเปาหมายเพื่อเรียกรองการกําหนดใจตนเอง ใหมีการลงประชามติ เพื่อ นําไปสูเอกราช ซึ่งจะเห็นไดวากลุมนี้ใชสถานะองคกรภาคประชาสังคมมาดําเนินการเพื่อบรรลุ เปาหมายเอกราช ซึ่งขัดตอรัฐธรรมนูญของราชอาณาจักรที่ยึดในเรื่องบูรณภาพแหงดินแดน- ข - แนวทางการบริหารจัดการองคกรภาคประชาสังคมในจังหวัดชายแดนภาคใตใหเกิดประโยชน สูงสุดตอการแกไขปญหาความไมสงบตามแนวทางสันติวิธีมี 2 แนวทางคือ แนวทางประสานความ รวมมือโดยมุงเนนใชองคกรภาคประชาสังคมใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการการแกไขปญหาและ พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐ และแนวทางควบคุมใชการติดตามพฤติกรรมอยาง ใกลชิด รวมถึงสืบสวนความเชื่อมโยงกับกลุมที่ใชความรุนแรง หากพบการกระทําความผิดก็ให ดําเนินการตามกฎหมายและมีการประชาสัมพันธในวงกวางรวมถึงการชี้แจงกับองคกรตางชาติที่ให การสนับสนุนเพื่อลดความชอบธรรมของกลุม

abstract:

ABSTRACT Title Civil Society Organizations Management for Supporting the Thailand’s Deep South Conflict Resolution Field Military Affairs Name Mr.Thawatchai Rittagorn Course NDC Class 57 This research study aims to (1) examine the role of civil society organizations (CSOs) in the Thailand’s Deep South conflict resolution under the government’s strategies; and (2) provide management strategies for these CSOs to achieve the ultimate efficiency of peaceful conflict resolution in the southernmost provinces. This research used the qualitative method employing relevant documentary on CSOs’ activities and movement in southern border provinces and in social media network. According to this research, CSOs in the southernmost region were established and driven by the international peace process. They are mostly funded and educated from international government organizations and international non-government organizations. CSOs are the most important significant actors in Deep South conflict resolution due to the ability to approach to people at grass-root level and to mediate the better understanding in conflict between state government/agencies and the public. From 2004 to present, there have been 524 civil society organizations founded in this region. CSOs could have both positive and negative aspects of impact in Deep South conflict resolution policy. The positive effect is implied from the working of Civil Society Council of Southernmost Thailand that (1) encourages peace process; (2) advocates violence reduction; and (3) mediates the working on the needs of the locals for the state resolution policy. While the negative effect is found in CSOs linked2 to The Federation of Patanian Student and Youth (Persekutuan Mahasiswa Anak Muda dan Siswa Se-Patani – PerMAS), which aim to support right to self-determination campaign (RSD) and the referendum for PATANI independence that go against the concept of territorial integrity in the constitution. This research concludes that Deep South CSOs efficient management can be (1) working cooperation/utilization based on the government’s Action Plan on Southern Border Provinces Development, 2015-2017; and (2) monitoring and verification of the linkage with violent activities of any civil society groups by using law enforcement together with public/worldwide clarification/demonstration to illegitimate their movement.