Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัญหาและแนวทางแก้ไขการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสารของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน 17 จังหวัดภาคเหนือ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ธวัช ศรีสว่าง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ปัญหาและและแนวทางแก้ไขการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสาร ของ ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปของ กองอ านวยการรักษา ความมั่นคงภายใน ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พันเอก ธวัช ศรีสว่าง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๗ วัตถุประสงค์ ศึกษาและวิเคราะห์สถานภาพการรับรู้ข่าวสารในด้านพื้นฐานและระดับปัญหาปัญหา กา รรับรู้ข่ าวส า ร ของป ร ะช าชนที่ต้อง รับรู้แล ะตร ะหนักถึงข้อเท็จจ ริงและศึกษ าแน ว ทางการแก้ปัญหาการรับรู้ข่าวสารของประชาชน ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) จากการ ด าเนินงานของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ จากข้อมูลปฐม ภูมิ (Primary Data) โดยสัมภาษณ์เชิงลึกประชาชนในพื้นที่ ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ตั้งแต่ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๗ – ๓๑ กรกฏาคม ๒๕๕๗ รวมถึงเอกสารอื ่น ๆ ตามการทบทวน วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา โดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า ๑. คุณลักษณะทางประชากรของประชาชน ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ด้านข้อมูลพื้นฐาน ส่ วนบุ คคล ของผู้ให้ ข้ อมู ล พบ ว่ า ส่ วนม ากเป็นผู้หญิง ระดับก ารศึกษาป ระถมศึกษ า อาชีพเกษตรกร ๒. ระดับประเด็นปัญหาในการแก้ไขการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสาร พบว่า ๒.๑ ประเด็น การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาธารณะยังไม่ทั่วถึง และมีราคาแพงในภาพรวมภาพรวม ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ พบว่า ระดับปัญหามีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๑๐ ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง แต่ถ้าแยกรายจังหวัดซึ่งประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่น่านพะเยาแพร่แม่ฮ่องสอนล าปางล าพูน อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก สุโขทัยเพชรบูรณ์ พิจิตร ก าแพงเพชร นครสวรรค์ และ จัหวัดอุทัยธานี พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๒.๗๖ ถึง ๓.๔๒ ซึ่ง อยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน จังหวัดที่มีระดับปัญหาที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ าที่สุด ได้แก่ จังหวัด แม่ฮ่องสอน เท่ากับ ๒.๗๖ และ จังหวัดที่มีระดับปัญหาคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดน่าน เท่ากับ ๓.๔๒ข ๒.๒ ประเด็น หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งมีหน้าด้านการบริการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสาธารณะขาดประสิทธิภาพที่จะคัดกรองข้อเท็จจริง และถูกใช้เป็นเครื่อง มีอทางการเมืองในภาพรวมภาพรวม ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ พบว่า ระดับปัญหามีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๖๙ ซึ่งอยู่ในระดับมาก แต่ถ้าแยกรายจังหวัดซึ่งประกอบด้วย จังหวัดเชียงรายเชียงใหม่น่าน พะเยาแพร่แม่ฮ่องสอนล าปางล าพูน อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก สุโขทัยเพชรบูรณ์ พิจิตร ก าแพงเพชร นครสวรรค์ และ จัหวัดอุทัยธานี พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๓.๕๔ ถึง ๓.๘๖ ซึ่งอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกัน จังหวัดที่มีระดับปัญหาที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ าที่สุด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เท่ากับ ๓.๕๔ และ จังหวัดที่มีระดับปัญหาคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก เท่ากับ ๓.๘๖ ๓. แนวทางในการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสารในภาพรวม ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ พบว่า ๓.๑ ประเด็นปัญหาการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาธารณะยังไม่ ทั่วถึงและมีราคาแพงความต้องการแนวทางในการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ ปฏิรูปการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาธารณะเพื่อให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง มีความทันสมัย และในราคาประหยัด ๓.๒ ประเด็นปัญหาหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งมีหน้าด้านการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาธารณะขาดประสิทธิภาพที่จะคัดกรองข้อเท็จจริง และถูกใช้ เป็นเครื่องมีอทางการเมือง ความต้องการแนวทางในการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ จัดตั้งสภา วิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาธารณะที่มีความเป็นอิสระ เพื่อควบคุมดูแล มาตรฐานการน าเสนอข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ จากข้อค้นพบของการวิจัยครั้งนี้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรวิจัยหาวิธีการที่จะท าให้ครอบคลุม พื้นที่ ควรต้องท าอย่างไร มีความทันสมัย มีวิธีการอย่างไรที่บ่งบอกได้ว่า ข้อมูลเป็นปัจจุบัน ต่อเนื่อง ราคาประหยัด ต้องด าเนินการอย่างไร ที่จะส่งผลให้ราคาประหยัด เพื่อประโยชน์ต่อการ น าไปใช้จริง และแนวทางการปฏิรูปข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ ค าส าคัญ การปฏิรูป ข้อมูลข่าวสาร เขตพื้นที่ ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ

abstract:

ABSTRACT Title Problems of Information Dissemination and Solutions: Center for Reconciliation and Reform, Internal Security Operations Command Region 3 Field Social - Psychology Name Colonel Tawat Srisawang Class: NDC Class 57 The objectives of this research were to address underlying problems of information dissemination of Center for Reconciliation and Reform, Internal Security Command Region 3, and to find out the solutions. The study had been done by examining concerned documents and conducting in-depth interview of people who living in 17 Northern provinces which are in the area of responsibility of Internal Security Command Region 3. The study revealed the followings: 1. Basic information about gender, education background, and career of interviewees was majority female, elementary school, and farmer respectively. 2. Problems: 2.1 Information technology sand public communication services were available only in some areas and costly. Consequently, only some people could reach the information provided through these services. Nan province had the most difficulties of accessing these services whereas Maehongsorn province had the least according to the result. 2.2 Ineffective information screening of the officials impeded people from receiving fact, essential and useful information. Moreover, it was exploited in political aspects. 3. Solutions: 3.1 Reform information technology and public communication services in order to ensure that the accessibility and price of these services in the areas of responsibility are equitable and affordable. 3.2 Form a Council of Information Technology and Public Communication Professionals as an independent organization to control and monitor the standard of information dissemination and concerned security.