เรื่อง: แนวทางการปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองภูมิปัญญาไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ทศพล ทังสุบุตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง แนวทางการปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายในการค
ุ้มครองภูมปิัญญาไทย
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นายทศพล ทงัสุบุตร หลกัสูตรวปอ.รุ่นท ีÉ ŝş
งานวิจัยนีÊมีวตัถุประสงค์เพืÉอศึกษาและวิเคราะห์ระบบการคุม้ครองภูมิปัญญาไทย
รวมถึงกฎหมายภายในประเทศ กฎหมายต่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศทีÉเกÉียวขอ้งกบัการ
คุม้ครองภูมิปัญญาไทย ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายในการ
คุ้มครองภูมิปัญญาไทย โดยเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ แบบการวิจัยทางเอกสาร (Documentary
Research) ซึÉงผลการวจิยัพบวา่ ปัญหาอุปสรรคในการคุม้ครองภูมิปัญญาคือการขาดมาตรการทาง
กฎหมายทีÉครอบคลุม ชดัเจน เพียงพอ ตลอดทัÊงกลไกทีÉจะมารองรับมาตรการทางกฎหมายในการ
คุม้ครองภูมิปัญญา ทาํใหม้ีการนาํภูมิปัญญาไปใชโ้ดยไม่เป็นธรรมแก่ชุมชนทีÉเป็นเจา้ของภูมิปัญญา
การขาดกฎเกณฑ์ทีÉชดัเจนในเรืÉองการเขา้ถึงภูมิปัญญาและการแบ่งปันผลประโยชน์ทาํให้ปัญหา
การแย่งชิงภูมิปัญญาไปเป็นของตนเองทวีความรุนแรงมากยÉิงขึÊน นอกจากนีÊ การขาดซึÉงองค์กร
กลางในการกํากับดูแลภูมิปัญญาและการจดั ให้มีฐานข้อมูลภูมิปัญญาทีÉครบถ้วนสมบูรณ์เพืÉอ
ประโยชน์ในการเขา้ถึงและตรวจสอบขอ้ มูลจากผูท้ีÉตอ้งการใช้ทาํให้การบริหารจดัการภูมิปัญญาทีÉ
มีอยูห่ ลากหลายขาดความคล่องตวัและดาํ เนินการไดด้ ้วยความยากลาํ บาก การมีระบบกฎหมาย
เฉพาะสําหรับคุม้ครองภูมิปัญญา จึงเป็นทางเลือกหนÉึงสําหรับการแกป้ ัญหาช่องว่างทางกฎหมาย
ซึÉงภายใตร้ะบบกฎหมายเฉพาะนÊนคว ั รมีรวมเอาหลกัการทีÉปรากฏใน อนุสัญญาความหลากหลาย
ทางชีวภาพ และขอ้ ตกลงทริปส์ซึÉงไทยเป็นภาคีมาปรับใช้ไดแ้ก่ หลกั สิทธิชุมชน (Community
Rights) หลกัการเขา้ถึง (Access) หลกัความยินยอมโดยแจง้ล่วงหนา้ (Prior Informed Consent)
หลกัการแบ่งปันผลประโยชน์(Benefit Sharing) และเพืÉอให้การคุม้ครองภูมิปัญญาไทยเป็นไปอยา่ ง
มีประสิทธิภาพ ควรจดั ตÊงองค์กร ั หรื อหน่วยงานเฉพาะขÊึน เช่น จัดตÊงเป็ นสํานักงานภูมิปัญญา ั
แห่งชาติ(National Bureau of Traditional Knowledge) เพืÉอทาํ หนา้ทีÉบริหารจดัการคุม้ครองภูมิ
ปัญญาไทยทีÉมีระดบั เทียบเท่ากรมและมีฐานะเป็ นนิติบุคคล มีความเป็ นอิสระในการบริหารงาน
ของตนเองทัÊงในแง่งบประมาณและบุคลากร
abstract:
ABSTRACT
Title Guideline For The Protection of Traditional Knowledge
Field Politics
Name Thosapone Dansuputra Course NDC. ŝş
Traditional knowledge is a body of knowledge, know-how, and skills, which
appears in many forms that is developed within a community to suits its environment during a
certain period. In the past, owner of traditional knowledge did not realize nor acknowledge the
importance of such ownership. Recently, it is obvious that people are, more than ever, eager to
utilize traditional knowledge in the past, especially people with more knowledge and economic
advantage, who foresee its true value and start to produce goods based on foreign traditional
knowledge while the original owner of traditional knowledge does not acknowledge its use, give
their consent, nor receive any benefits.
In term of international agreement relating to the protection of traditional
knowledge, it is in ambiguity and has not yet received any approval on an international binding
instrument to protect traditional knowledge in other countries. Although Thailand has laws to
protect traditional knowledge but it does not cover all field of traditional knowledge. Therefore,
this article seeks for guideline to efficiently and systematically protects traditional knowledge in
Thailand.