Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดการศึกษาสำหรับสถานศึกษาเฉพาะทางของโรงเรียนเตรียมทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ทวีศักดิ์ บุญรักชาติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การจัดการศึกษาส าหรับสถานศึกษาเฉพาะทางของโรงเรียนเตรียมทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พันเอกทวีศักดิ์ บุญรักชาติ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๗ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการศึกษาของ รร.ตท. ในปัจจุบันเพื่อเป็น ข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและหาแนวทางในการจัดการศึกษาที่เหมาะสมของ รร.ตท. ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม การจัดการศึกษาส าหรับสถานศึกษาเฉพาะทางของ รร.ตท.สปท. กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้บริหาร ครู-อาจารย์ นายทหาร-ต ารวจปกครอง รร.ตท. และ นตท.ชั้นปีที่ ๓ จ านวนทั้งสิ้น ๕๑๔ นาย ผลการศึกษา พบว่าด้านหลักสูตร ด้านกิจกรรม ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านจ านวนครู-อาจารย์และด้านสื่อการเรียนการสอน มีความ เหมาะสมระดับมาก ส าหรับด้านจ านวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร จ านวนรายวิชาสาระการเรียนรู้ พื้นฐานมีความเหมาะสมระดับมาก จ านวนรายวิชาสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม จ านวนชั่วโมงวิชาสาระ การเรียนรู้พื้นฐาน จ านวนชั่วโมงรายวิชาสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม จ านวนชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แต่ละชั้นปีที่กลุ่มสาระการเรียนรู้ด าเนินการมีความเหมาะสมระดับมากถึงปานกลาง ด้านกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนในด้านจ านวนกิจกรรมแนะแนว จ านวนกิจกรรมชมรม จ านวนกิจกรรมตามระเบียบ โรงเรียนเตรียมทหาร และจ านวนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มีความเหมาะสมระดับ มากถึงปานกลาง

abstract:

Abstract Title The educational management and administration in specialized institute of AFAPS. Characteristics Social Psychology Name Colonal Taweesak Boonrugchart Course NDC Class 57 The purposes of this study were to develop and gathering information for carrying out The educational management and administration in specialized institute of AFAPS in this academic year.The instrument used in the study was a questionnaire, that addressess specific study objectives. Populations data and sample size are 514 consist of education administrators, instructors, mentor officers and pre-cadets. In summary, the results indicated that; 1. The satisfaction on the curriculum, activities, human resource, educational management, numbers of instructors and instructional media were good at the level. 2. The satisfaction on The number of credits to graduate were good at the level. 3. The satisfaction on The number of core courses, selective courses and the amount of time in hours for learning in each courses and time to spend in additional activities for encouraging learners’ skills were good and fair at the level. 4. The satisfaction on the number of additional activities for encouraging learners’ skills, club activities under the school regulation and public or social activities were good and fair at the level.