เรื่อง: การศึกษาแนวทางความร่วมมือในการจัดการน้ำเพื่อป้องกันและบรรเทาอุทกภัย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การศึกษาแนวทางความรวมมือในการจัดการน้ําเพื่อปองกันและบรรเทาอุทกภัย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
ประเทศไทย มีการแบงลุมน้ําออกเปน 25 ลุมน้ํา มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยทั้งประเทศปละ1,425
มิลลิเมตรคิดเปนปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรวมปละประมาณ 213,300ลานลูกบาศกเมตร สามารถเก็บกักไวใน
เขื่อนและอางเก็บน้ําไดจํานวน 75,360ลานลูกบาศกเมตร หรือรอยละ35.33 (กรมชลประทาน:2553) สวนที่
เหลือก็ไปใชในกิจกรรมตางๆ เชน การเกษตรกรรม อุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรม รักษาสมดุลนิเวศน และ
ไหลลงทะเล การควบคุมปริมาณจํานวนดังกลาวไมสามารถควบคุมไดทั้งหมด ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง
สภาวะภูมิอากาศทําใหเกิดลมมรสุม และพายุจรพัดผานประเทศไทยจึงทําใหเกิดฝนตกหนัก ซึ่งเปนสาเหตุ
ของการเกิดอุทกภัย ซึ่งสงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของราษฎร ทรัพยสิน พื้นที่การเกษตร ตลอดจน
สิ่งกอสรางสาธารณประโยชนของทางราชการเสียหาย
จากสถิติของการเกิดอุทกภัยในแตละปของประเทศไทย พบวามีการสูญเสียดานชีวิตและ
ทรัพยสินของประชาชนและทางราชการเปนจํานวนมากโดยมีสาเหตุของการเกิดอุทกภัยเนื่องจากธรรมชาติ
และการกระทําของมนุษย สาเหตุที่สําคัญคือการกระทําของมนุษยที่มีการใชและทําลายทรัพยากรธรรมชาติ
โดยเฉพาะการตัดไมทําลายปาหรือการบุกรุกแมน้ําลําธารซึ่งเปนทางระบายน้ํา ตลอดจนสิ่งกอสรางที่
ขวางทางระบายน้ํา เปนตนซึ่งนับวันการเกิดอุทกภัยยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น
ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษา เรื่อง“การศึกษาแนวทางความรวมมือในการจัดการน้ํา
เพื่อปองกันและบรรเทาอุทกภัย” โดยใหความสําคัญเกี่ยวกับการศึกษาความรวมมือในการจัดการน้ําตั้งแต
กอนเกิด ระหวางเกิดและหลังเกิด ในระดับทองถิ่น ภูมิภาค และประเทศ เพื่อใหไดรูปแบบและกระบวนการ
ความรวมมือที่กอใหเกิดประสิทธิภาพเชิงการบริหาร และเกิดประสิทธิผลตอผูไดรับผลกระทบจากปญหา
อุทกภัย ในดานชีวิตและทรัพยสินที่ลดลง การศึกษาในครั้งนี้ จึงไมใชเปนเพียงการชี้ใหเห็นถึงความรวมมือ
ในการบริหารน้ําทวมของหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดการทรัพยากรน้ําเพียงดานเดียว แตไดให
ความสําคัญในการหาคําตอบเกี่ยวกับความรวมมือ และการมีสวนรวมของภาคประชาชนที่เคยประสบปญหา
อุทกภัย ภาคเอกชน กลุมนักวิชาการ และNGOตลอดจนหนวยงานภาครัฐอื่นๆ ที่มีบทบาทในการสงผลให
ความรวมมือในการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อปองกันและบรรเทาอุทกภัยทุกระดับ ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอไป
abstract:
Abstract
Title The Study ofCollaborationinWaterManagement forFloodPrevention andMitigation
Field Sciences and Technologies
Name Thaweesak Thana-dachophol Course NDC Class 57
Thailand has been divided into 25 river basins and characterized with annual average rainfall of
1,425 millimeter which accounted for annual average runoff of 213,300million m3
. Annually, average amount of
water of 75,360 million m3 or 34.33% of total amount can be stored in dams and reservoirs (Royal Irrigation
Department, 2010). Natural unstoredflow of streamwater is commonly consumed for a verity of activities
including agriculture, domestic use, industry, ecology conservation and outflow to the ocean. However, all
available amount of water cannot be entirely controlled and managed by current water control measures. Recently,
today’s climate change has causeda number of tropicalmonsoonsand oddstorms that prevail over Thailand in
which severe heavy rainfalls have occurred. A severe case of rainfall has been regarded as major causation of flood
which yields substantial negative impact on daily lives of people, properties, agricultural areas as well as
governmental infrastructure systems. In Thailand, based on statistics of floods that haveoccurred each year, it can found that there is a
number of severe damages to people’slives cum personal and governmental properties. Likewise, there has been
always mentioned that the essential causationsof floods are linked to naturalprocess and human activities. The
major human-related causations relate to excessive uses and voracious consumptions of natural resources,
particularlydestructionand degradation of forests, trespassin order to gain access to awaterway as well as
construction of buildings and other properties that lead to waterway obstruction. Nowadays, there has been
mentioned that degree of flood severity has increased continuously.
As a consequence, a researcher has focused cautious interest on the research topic of “The Study
of Collaboration in Water Management for Flood Prevention andMitigation” in which the ultimate objective is
placed on an integrated water management measures for pre-flooding stage, flooding stage and post-flooding stage
at local, regional and national level. This research endeavor is todevelop integrated process-based model that can
provideuseful contributions to water management scheme as well as lives and properties affected people. The
focus of this study did not only place on highlighting an integrated-based strategy in which all relevant
organizations has been collaborated in managing water resources but also discoveringthe way which can enable
the cooperative participation among affected people, private organizations, scholars, NGOs and government
agencies towards water resources management for purpose of development of effective flood prevention and
mitigation strategy.