เรื่อง: การพัฒนาความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา อย่างยั่งยืน โดยใช้แนวคิดการพัฒนาหมู่บ้านชายแดนกัมพูชา ศึกษาเฉพาะพื้นที่จังหวัดอุดรมีชัยและจังหวัดพระวิหาร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ดนัย เถาว์หิรัญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาความสัมพันธ ไทย – กัมพูชา อยางยั่งยืน โดยใชแนวคิดการพัฒนา
หมูบานชายแดนกัมพูชา ศึกษาเฉพาะพื้นที่จังหวัดอุดรมีชัย และ
จังหวัดพระวิหาร
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย พันเอก ดนัย เถาวหิรัญ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม ของกัมพูชา
โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดอุดรมีชัยและจังหวัดพระวิหาร ในโครงการดานสาธารณสุขมูลฐาน เชน
การโภชนาการ การสุขาภิบาล สุขอนามัยและดานการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิต และการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตลอดจนศึกษาความสัมพันธและความขัดแยงระหวางไทย - กัมพูชาหวง ป พ.ศ.2551 จนถึงปจจุบัน
และศึกษาโครงการพระราชดําริ เพื่อใชประกอบการพิจารณาจัดทําโครงการพัฒนาหมูบานตัวอยาง
เพื่อสงเสริมความสัมพันธไทย กัมพูชา ในพื้นที่เปาหมายคือ หมูบานพัฒนาชายแดนของกัมพูชาที่จัดตั้งใหม
ดานจังหวัดอุดรมีชัยและจังหวัดพระวิหารสําหรับทหาร ตํารวจ และครอบครัว ซึ่ง นายกรัฐมนตรีกัมพูชา
ตองการเสริมความมั่นคงของพื้นที่ชายแดนดานนี้ โดยที่ตั้งโครงการอยูตรงขามจังหวัดบุรีรัมย
จังหวัดสุรินทร จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดอุบลราชธานี และเปนบริเวณใกลกับพื้นที่มีปญหา
เขตแดนกับไทยจนเคยเกิดเหตุสูรบรุนแรงเมื่อป พ.ศ.2551 -2554 จึงอาจเปนภัยคุกคามตอประเทศไทยได
การวิจัยนี้ ใชหลักวิจัยเชิงคุณภาพและติดตามประเมินสถานการณดวยตนเอง
และรวบรวมขอมูลขาวสารแหลงขาวตางๆ รวมทั้งสัมภาษณทหารกัมพูชาและราษฎรในพื้นที่ชายแดนใกลเคียง
โดยนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห ทราบวารัฐบาลกัมพูชาไดรับการชวยเหลือจากตางประเทศในระดับทวิภาคี
และพหุภาคี ในโครงการพัฒนาดานสาธารณสุข การเกษตรและการศึกษา อยางตอเนื่อง ผลการดําเนินงาน
โครงการตางๆ เปนที่นาพอใจ แตในสวนของโครงการพัฒนาหมูบานชายแดนของทหาร ตํารวจ และ
ครอบครัวดังกลาว ยังไมสามารถทําไดครบตามเปาหมายอยางรวดเร็ว และกําลังเรงดําเนินการให
ประชาชนในพื้นที่โครงการเขาถึงการบริการของรัฐดานแหลงน้ํา ไฟฟา การสาธารณสุข การศึกษา และ
การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเพื่อเพิ่มรายไดแกครอบครวัทหารและตํารวจ ความสําเร็จของโครงการ
พัฒนาหมูบานตัวอยางในพื้นที่โครงการพัฒนาหมูบานชายแดนของกัมพูชา ที่งานวิจัยนี้นําเสนอโดยใช
แนวคิดทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม จะทําใหประชาชนในพื้นที่โครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น
มีรายไดจากการเกษตรเพิ่มขึ้น พึ่งพาตนเองได เด็กและเยาวชนไดเรียนหนังสือดวยสภาวะแวดลอมที่ดี
สนองตอบตอแผนยุทธศาสตรการพัฒนาแหงชาติกัมพูชา ผลลัพธที่ไดคือความรูสึกเปนมิตรระหวางกันก
อันจะสงผลตอการพัฒนาความสัมพันธ ไทย – กัมพูชา อยางยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการควรมีรูปแบบ
การดําเนินโครงการใน 3 กิจกรรมหลัก คือ สาธารณสุข การเกษตร และการศึกษา โดยใหจังหวัดสุรินทร
และจังหวัดศรีสะเกษ เปนหนวยรับผิดชอบหลัก และเสนอเปนโครงการนํารองในลักษณะจังหวัดคูมิตร
ไทย กัมพูชา และควรขยายผลไปเปนแบบอยางในพื้นที่หมูบานชายแดนอื่นๆ ตอไป
abstract:
- 6 -
ABSTRACT
Title The Sustainable Relationship Development between Thailand and
Cambodia through border village development program specificly
In Otdar Meanchey and Preah Vihear Provinces.
Field Politics
Name Colonel Danai Thaohiran Course NDC Class 57
The research paper has aims to study the economic and social development
program, focusing on primary health care such as nutrition, public sanitation and
productive agriculture including basic education in areas of Otdar Meanchey and Preah
Vihear provinces opposite Burirum Surin Srisaket and Ubonrachathani provinces of
Thailand, and to analyses also the progress of the house building program which was
initiated by Prime minister of Cambodia for the soildiers and families posted to these border
areas to protect its strategic locations along the border of Cambodia and Thailand by focusing on
the basic need of people as the priorities such as water sanitation health and education
including economic development in communities. In addition, this house building
program of Cambodia located 1-15 kilometers from the Thai border could be a threat for
the nation. This paper also evaluated Thailand Cambodia relationship during 2008 - 2015
and to assess of how the royal sufficiency philosophy being applied in this program.
The data collected came from open sources research, location survey, and
interviewing people and military officers posted in areas of study. The quantitative
analysis and descriptive approaches are core methods to show level of effectiveness of
the program and to reveal some potential factors that could obstruct the progression of
development program.
This research study can identify lesson learned and provide suggestions to
enhance and make better border village development as a primary goal. First, the clean
and green agriculture products with good hygiene practices could be used to prepare
daily meal in the family and to help prevention of all possible diseases and boost up
people’s health care. Second, to maximize the production of agriculture ,soil and water - 7 -
should be well managed with combination of organic agriculture. And lastly, education is
essential for future development so that school should be built to support and
empower young generation. As a result of these suggestions, they will promote the
friendship of Thailand and Cambodia.