Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ณัฏฐพัชร สกุลรังสฤษฏ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการน้ําและอุทกภัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน อยางมีประสิทธิภาพ ศึกษากรณี สํานักงานพัฒนาภาค ๓ หนวยบัญชาการ ทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย พันเอก ณัฏฐพัชร สกุลรังสฤษฏ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ การวิจัยเรื่องแนวทางการบริหารจัดการน้ําและอุทกภัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน อยางมีประสิทธิภาพ ศึกษากรณี สํานักงานพัฒนาภาค ๓ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทยนี้ จัดทําขึ้นเพื่อศึกษาถึงสภาพปญหาของการบริหารจัดการน้ําที่เกิดขึ้น ในประเทศไทย และในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนบทบาท อํานาจหนาที่ ปญหาและขอจํากัดรวมทั้ง ความสัมพันธของหนวยงานที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการน้ํา ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน กับ สํานักงานทหารพัฒนา ภาค ๓ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา เพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการน้ํา รวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใหเกิดการบูรณาการรวมกันอยางแทจริง และเกิด ประสิทธิภาพโดยมีขอบเขตของ การวิจัย เฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอันเปนพื้นที่ตนน้ําและ สวนใหญเปนพื้นที่ปาและภูเขา ซึ่งอยูในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานพัฒนาภาค ๓ หนวย บัญชาการทหารพัฒนา ทั้งนี้มีหวงเวลาทําการศึกษาวิจัย ตั้งแต ๑๘ ต.ค.๕๗ ถึง ๒๕ มิ.ย.๕๘ ซึ่งการ วิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาถึงสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในหวงที่ผานมา ทั้งจากภัย แลงและอุทกภัย ประกอบกับการนําแนวทางบริหารจัดการตามแนวพระราชดําริ แนวคิดทฤษฎี แผน แมบท และนโยบายของรัฐบาล มาเพื่อทําการวิเคราะห และนําผลของการวิเคราะห มากําหนด เปนกรอบแนวทางและแผนการปฏิบัติงานของหนวยบัญชาการทหารพัฒนาที่จะปฏิบัติภารกิจ รวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของผลการวิจัยและขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้คือ ควรแตงตั้ง ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาภาค ๓ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา รวมเปนคณะอนุกรรมการพัฒนา และบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ภาคเหนือ และปรับปรุงแกไขคําสั่งคณะกรรมการลุมน้ําโดย ใหมีผูบังคับหนวยพัฒนาการเคลื่อนที่ (นพค.) รวมเปนคณะกรรมการ ทั้งนี้ในแตละคณะกรรมการ ตองมีประชาชนและผูนําชุมชนในพื้นที่ เขารวมเปนกรรมการดวย นอกจากนี้ หนวยบัญชาการ ทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย ตองปรับแผนงานพัฒนาแหลงน้ํา เปนแผนงานบริหาร จัดการทรัพยากรน้ํา และขยายขอบเขตของงานใหครอบคลุม รวมทั้งเพิ่มเติมงบประมาณให เหมาะสมจากงบประมาณรายจายประจําป และที่สําคัญ การบริหารจัดการน้ําและอุทกภัยในพื้นที่ตนน้ําในภาคเหนือ จําเปนที่จะตองเปนไปในกรอบแนวทางเดียวกันและประสานสอดคลองกัน โดย ใชศักยภาพของทรัพยากรที่มีอยูของทุกหนวยงานที่เกี่ยวของมาปฏิบัติงานรวมกัน ภายใตการ ซักซอมการปฏิบัติและการทําความเขาใจรวมกันตั้งแตในยามปกติ เพื่อใหเกิดการบูรณาการการ ทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความยั่งยืน

abstract:

ABSTRACT Title The effective approach of water and flood management in upper northern area, the case study of The Regional Development Office 3 Field Science and Technology Name Col. NatthapatSagulrungsalit Course NDC Class 57 Research on the effective approach of water and flood management in upper northern area, this case study of The Regional Development Office 3 (RDO3), under the Armed Forces Development Command (AFDC), is prepared to study about the problems of water management in Thailand and the upper northern area about the roles, authority, limitations, and the relationships between the agencies involved in water management in the upper northern area with the RDO3. In order to propose the water management approach in corporation with other agencies involved to achieve the truly integrated and effective work. The scope of the research is only in the upper northern part areas which is the upstream areas where most of the areas are forest and mountains, where these areas are in charge of the RDO3. However, the period of study is from 18th August, 2014 to 25th June, 2015. This research is the qualitative research which studied about the problems occurred during the period as mentioned above including drought and floods. We utilized management approach according to His Majesty’s Initiative, theory, model scheme, and policies from the government, to analyze and used the results from analysis to help define frameworks and action plans of the AFDC in working together with other related agencies. The findings and recommendations of the study is that we should appoint the director of theRDO3 as the co-development committees to help in water resources management in the northern areas, and to help improve and work together with the watershed committees. However, the public and the community leaders in each area should join the board of committee. In addition,the AFDC should adjust the water resources development plan to be the water resources management plan and expand the scope of coverage, and also adding budget to be appropriate with the annual expenditure. The mostimportant is that the water and flooding management in upstream areas in the north need to be aligned and coordinated with the framework by utilizing the potential of the available resources from allinvolved agencies in working together to achieve the effectiveness and sustainability in the integrated work.