เรื่อง: แนวทางการพัฒนาขีดความสามารถด้านการจัดการความรู้ของกองบัญชาการกองทัพไทย, (วปอ.9220)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ชนวุฒิ อิทธิวัฒนะ, (วปอ.9220)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2563
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการพัฒนากำลังพลดานการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พลตรี ชนวุฒิ อิทธิวัฒนะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๓
การศึกษาวิจัยเรื่อ “แนวทางการพัฒนากำลังพลดานการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพ
ไทย” มีวัตถุประสงค๑. เพื่อศึกษารูปแบบองคกรในการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย ในปจจุบัน
๒. เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคของการดำเนินการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย ๓. เพื่อเสนอแนะ
แนวทางในการพัฒนากำลังพลดานการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย โดยผูศึกษาใชวิธีการวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) นำเสนอโดยการพรรณนาและวิเคราะหควบคูกันไป (Descriptive
and Analytical Method) ในเชิงของการเปนเหตุเปนผล
ผลการศึกษาวิจัยพบวาแนวทางการพัฒนากำลังพลดานการจัดการความรูของกองบัญชาการ
กองทัพไทย ตามที่กลาวมาแลวนั้น ผูศึกษาเห็นวาการพัฒนากำลังพลดานการจัดการความรูของ
กองบัญชาการกองทัพไทย มีความสอดคลองและเปนไปตามทฤษฏีดานการบริหารทรัพยากรมนุษย
จากการที่ไดสัมภาษณแบบเจาะลึก (In-depth interview) กลุมตัวอยางขาราชการที่ปฏิบัติที่มีสวนรวม
ในการดำเนินงานจัดทำนโยบายดานการจัดการความรูของกำลังพลกองบัญชาการกองทัพไทย /หรือใน
ฐานะที่ทานเปนผูปฏิบัติงานดานการจัดการความรูของกำลังพลกองบัญชาการกองทัพไทย เพื่อศึกษา
รูปแบบองคกรในการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย ในปจจุบัน ศึกษาปญหาและอุปสรรคของการ
ดำเนินการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย พรอมทั้งเสนอแนะแนวทางในการพัฒนากำลังพลดานการ
จัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทยซึ่งการถอดบทเรียนรูจากการสัมภาษณแบบเจาะลึก (In-depth
interview) ของกลุมตัวอยางขาราชการที่ปฏิบัติงานดานการศึกษาของกำลังพลกองบัญชาการกองทัพ
ไทยนั้น ผูศึกษายังพบวาการปฏิบัติในกระบวนการที่สำคัญในการนำนโยบายสูการปฏิบัติของสวนราชการ
ใน บก.ทท. ในการพัฒนาบริหารและจัดสรรทรัพยากร ซึ่งประกอบดวยกระบวนการที่สำคัญอยู
๔ กระบวนการ ไดแก ประกอบดวยกระบวนการที่สำคัญอยู ๔ กระบวนการ ไดแก ๑. กระบวนการจัดทำ
แผน ๒. กระบวนการจัดสรรทรัพยากร ๓. กระบวนการปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ๔. กระบวนการ
ตรวจสอบและประเมินผล
ขอเสนอแนะที่ไดจากผลการวิจัยในครั้งนี้จากผลการศึกษาแนวทางการพัฒนากำลังพล
ดานการจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย ผูศึกษาวิจัยมีขอเสนอแนะในการพัฒนากำลังพล
ดานการจัดการความรูดังตอไปนี้คือ
๑. ควรกำหนดใหการจัดการความรู (KM) เปนหนึ่งในนโยบายของแตละสวนราชการ
โดยตองกำหนดเปาหมายและระยะเวลาที่ชัดเจน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลอยางเปนรูปธรรม
และจริงจัง
๒. ควรกำหนดใหมีการเสริมสรางความรูความเขาใจ และแนวการปฏิบัติเกี่ยวกับ
นโยบาย วิสัยทัศน แนวทาง ยุทธศาสตรการพัฒนากำลังพลดานการจัดการความรูของกองบัญชาการข
กองทัพไทย ตามที่กำหนดของกองบัญชาการกองทัพไทยใหกับกำลังพลทุกนายตามแนวทางรับ
ราชการ
๓. ควรผลักดันใหทุกหนวยจัดทำ KM จากงานประจำอยางเปนรูปธรรม โดยมีการ
ผนวกกับงาน KM เขากับยุทธศาสตร และมีการสื่อสารเพื่อการรับรูและเขาใจตรงกันของกำลังพล
๔. จัดใหมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกำลังพลจากสวนราชการเพื่อเพิ่มพูนความและ
สงเสริมใหมีกิจกรรมการจัดการความรูอยางตอเนื่อง ที่จะทำใหกำลังพลที่ไมเขาใจในการดำเนินการ
จัดการความรู สามารถเรียนรู เขาใจในกระบวนการการจัดการความรูไดอยางทั่วถึง และสงเสริมให
เกิดเปนเครือขาย
ดังนั้นแนวทางการจัดการความรูจึงมีความสำคัญ ถือวาเปนหัวใจสำคัญในการนำพา
องคกรไปสูความสำเร็จ จึงเปนเรื่องสำคัญที่คนพบจากการศึกษาวิจัยแนวทางการพัฒนากำลังพลดาน
การจัดการความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย กระบวนการการพัฒนากำลังพลดานการจัดการ
ความรูของกองบัญชาการกองทัพไทย จะสามารถแกไขปญหาตางๆ ในการพัฒนากำลังพลเพื่อ
เตรียมความพรอมในการปองกันประเทศ จะชวยใหการพัฒนากำลังพลกองบัญชาการกองทัพไทยมี
ประสิทธิภาพ สามารถพัฒนากำลังพลใหมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับวิสัยทัศนของกองทัพไทย “เปน
กองทัพชั้นนำในภูมิภาค มีนวัตกรรมทันสมัย ปฏิบัติการรวมอยางมีประสิทธิภาพทุกมิติ” และ
สอดคลองกับวิสัยทัศนของกองบัญชาการกองทัพไทย “เปน DIGITAL Headquarters ภายใน พ.ศ.
๒๕๖๕ และมุงสูการเปน SMART Headquarters ภายใน พ.ศ.๒๕๘๐
abstract:
Abstract
Title Guidelines for personnel development in knowledge management
of the Royal Thai Armed Forces Headquarters
Field Psychological Society
NameMaj. Gen. Chanavud Ittiwattana Course NDC Class 63
This paper aims to study and suggest Guidelines for personnel development in
knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters. Qualitative
research method is applied focusing on finding 1. To study the organizational model in
knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters at present 2. To
study the problems and obstacles of the Royal Thai Armed Forces Knowledge
Management Operations 3. To suggest guidelines for the development of personnel in
knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters. The researcher
used a qualitative research method. It is presented by describing and analyzing it together
(Descriptive and Analytical Method) in terms of rationality.
The results of the study revealed that the personnel development guidelines
for knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters As already
mentioned. The study found that the development of personnel in knowledge
management of the Royal Thai Army Headquarters. It is consistent and in accordance with
the theory of human resource management from the in-depth interview (in-depth
interview). The sample group of civil servants who participated in the implementation of
knowledge management policies of the Royal Thai Army Headquarters /or as you are a
knowledge management worker of the Royal Thai Army Headquarters. To study the
organizational model in knowledge management of the Royal Thai Armed Forces
Headquarters at present. To study the problems and obstacles of the Royal Thai Armed
Forces Knowledge Management Operations To suggest guidelines for the development of
personnel in knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters. in
which the lessons learned from the in-depth interview (in-depth interview) of the sample
of civil servants working in the education of the Royal Thai Army Headquarters. The study
also found that the practice in the process that is important in the implementation of
policies in government agencies of the Royal Thai Armed Forces Headquarters to develop,
manage and allocate resources. It consists of four important processes: 1. Planning
process. 2. Resource allocation process. 3. Operation process Productivity/Results. 4.
Inspection and Evaluation Process.ง
Recommendations obtained from the results of this research. The results of
the study revealed that the personnel development guidelines for knowledge
management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters As already mentioned. The
study found that the development of personnel in knowledge management of the Royal
Thai Army Headquarters.
The following are
1. Knowledge management (KM) should be defined as one of the policies of
each government agency. by having to set clear goals and timelines as well as having a
concrete and serious follow-up assessment.
2. Should provide for the enhancement of knowledge and understanding and
guidelines on policies, visions, guidelines and strategies for personnel development in
knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters. as prescribed by
the Royal Thai Armed Forces Headquarters to all personnel according to the guidelines for
service
3. All units should be encouraged to produce KM from their routine tasks in a
concrete manner. with integration of KM work into the strategy and there is
communication for mutual awareness and understanding of the troops.
4. Provide a forum for exchanging knowledge among personnel from
government agencies in order to increase their knowledge and promote continual
knowledge management activities. to make the troops who do not understand how to
conduct knowledge management can learnThorough understanding of knowledge
management processes and fostering a network.
Therefore, knowledge management approaches are important. It is considered
the key to leading the organization to success.Therefore, it is important to find out from
the research study on personnel development guidelines for knowledge management of
the Royal Thai Armed Forces Headquarters. The process of personnel development in
knowledge management of the Royal Thai Armed Forces Headquarters will be able to fix
various problems in the development of personnel to prepare for national defenseIt will
help the development of the Royal Thai Army Headquarters to be effective. able to
develop effective personnel in line with the vision of the Thai Army“To be the leading
army in the region modern innovationeffective joint operations in all dimensions” and in
line with the vision of the Royal Thai Armed Forces Headquarters “to be DIGITAL
Headquarters by 2022 and to be SMART Headquarters by 2037.