Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาแนวทางความร่วมมือระหว่างและภาครัฐและภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อนกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ , (วปอ.9218)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ฉัตรชัย บางชวด, (วปอ.9218)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนาแนวทางความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อน กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายฉัตรชัย บางชวด หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๓ งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงคดังนี้ ประการแรก เพื่อศึกษาสถานะและการดำเนินงาน ของภาคประชาสังคมที่เกี่ยวของกับกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใตประการ ที่สอง เพื่อวิเคราะหและประเมินผลกระทบดานบวกและดานลบจากการดำเนินงานของภาคประชาสังคม ที่มีตอกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบันและแนวโนมระยะตอไป และ ประการสุดทาย เพื่อแสวงหาแนวทางประสานความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคประชาสังคมเพื่อ สนับสนุนกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใตใหสามารถดำเนินการไดอยาง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นการศึกษานี้เปนการวิจัยเอกสารประกอบการสัมภาษณ บุคคลที่เกี่ยวของ โดยเอกสารที่ใชเปนเอกสารชั้นตน ไดแก นโยบาย คำสั่ง คำประกาศ และ เอกสารชั้นรอง ไดแก บทความวิเคราะห และงานวิจัย ผลการศึกษาพบวา ประการแรกคือ องคกรภาคประชาสังคมแตละ องคกรมีเปาหมายการทำงานแตกตางกัน แตมีความตองการในการรวมทำงานกับภาครัฐเพื่อสนับสนุน กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต เนื่องจากมีความตระหนักถึงประโยชนของ การรวมมือกันและผลประโยชนของประชาชนเปนหลัก ประการที่สองคือ การสรางความรวมมือ ระหวางภาครัฐและภาคประชาสังคมมีทั้งผลกระทบดานบวกและดานลบ โดยภาครัฐตองสนับสนุนให เกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพและสรางสรรค และประการสุดทายคือ ความรวมมือกับภาคประชาสังคม ขึ้นอยูกับปจจัยทั้งภายในองคกรและภายนอกองคกร รวมไปถึงปจจัยทางการเมืองและสังคม ภายในประเทศและตางประเทศ ดังนั้นภาครัฐจึงควรพัฒนาความรวมมือกับองคกรภาคประชาสังคม อยางครอบคลุมทุกมิติ

abstract:

Abstract Title State - civil society organisation cooperation development for proceeding in The Peace Dialogue Process in Southern Border Provinces. Field Social Psychology Name Mr. Chatchai Bangchuad Course NDC Class 63 This research aims to study status and operation of civil society organisation (CSOs) that involve with Peace Dialogue Process along with analyzing and evaluating both negative and positive effects from the operation of CSOs towards Peace Dialogue Process. Lastly this study will also finding collaborative approach between state and CSOs for supporting operational effectiveness of Peace Dialogue Process. This research has adopted the qualitative research methodology by using in￾depth interview, documentary review, collecting and analyzing data from academic article, government’s policy and announcements, and national acts for solving the insurgency problem. The results found that; initially, each CSOs have different goals, but have the same intention to cooperate and support The Peace Dialogue Process of the government. Moreover, the cooperation between the state and CSOs can be positive and negative effects, therefore the government should encourage the operations of CSOs with creativity and effectiveness. Lastly, the cooperation between the state and CSOs depend on internal and external factors of organisation; thus, government should be focus on cooperation development with CSOs in all dimensions.