Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การผลิตและการพัฒนาฝีมือแรงงานด้านอุตสาหกรรมยานต์ใหม่ (S Curve) เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคตของไทย, (วปอ.9212)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว จันทร์นภา สายสมร, (วปอ.9212)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการผลิตและพัฒนาฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมยานยนตใหม (S Curve)เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอุตสาหกรรมยานยนตใน อนาคตของไทย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นางสาวจันทรนภา สายสมร หลักสูตร วปอ. รุนที่63 วัตถุประสงคของการวิจัยฉบับนี้มี 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพฝมือแรงงานของ อุตสาหกรรมยานยนตของไทยในยุคปจจุบัน 2) เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการผลิตและการพัฒนา ฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมยานยนต3) เพื่อศึกษาแนวทางการผลิตและการพัฒนาฝมือแรงงานดาน อุตสาหกรรมยานยนตใหม (S Curve) เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอุตสาหกรรมยานยนตใน อนาคตของไทย วิธีการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บขอมูลจากผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนผูแทนจาก ผูประกอบการอุตสาหกรรมยานยนตของไทย ภาคการผลิตรถยนต และหนวยงานที่เกี่ยวของ จำนวน 6 รายเครื่องมือในการวิจัยเปนการสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูลใชการตีความจากขอมูลที่เชิงคุณภาพ ผลการศึกษาสภาพฝมือแรงงานของอุตสาหกรรมยานยนตของไทยในยุคปจจุบัน พบวา สภาพการผลิตที่เกี่ยวกับดานอุตสาหกรรมยานยนตของไทยอยูในดานบวก ทั้งนี้อาจจะเปนผลมาจาก ความตองการของตลาดภายในประเทศ นโยบายของรัฐบาลที่มุงสงเสริมใหอุตสาหกรรมยานยนตเปน อุตสาหกรรมหลักของประเทศในระยะยาว การใหความสำคัญของภาครัฐในดานปจจัยการผลิต วัตถุดิบ พลังงาน การสงเสริมการลงทุน ความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชนอยาง ใกลชิด ผลการศึกษาปญหาและอุปสรรคในการผลิตและการพัฒนาฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมยาน ยนตพบวา 1) การผลิตแรงงานดานอุตสาหกรรมยานยนตของไทยยังไมสอดคลองกับความตองการ ของแตละกลุมอุตสาหกรรม และคุณภาพแรงงานของไทยยังขาดทักษะแรงงานที่เหมาะสมกับ อุตสาหกรรมยานยนตยุคใหม 2) ดานพัฒนาคุณภาพฝมือแรงงาน ทักษะแรงงานสวนใหญที่เหมาะสม กับอุตสาหกรรมยานยนตยุคใหมมีการพัฒนานอยมาก ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมยานยนตใหม (S Curve) เพื่อรองรับเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอุตสาหกรรมยานยนตในอนาคตของไทย พบวา ระดับนโยบายของ ภาครัฐตองมีการกำหนดนโยบายและเปาหมายที่ชัดเจน สงเสริมและสนับสนุนความรวมมือจากทุก ภาคสวน ในการวางแผน เตรียมความพรอมในการพัฒนาขีดความสามารถของแรงงาน จัดทำ โครงการความรวมมือแบบเครือขายกับประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตใหม พัฒนาหลักสูตรการเรียนในการสอนในกลุมอาชีวะใหสูงขึ้นจนถึงระดับปริญญาเอก มีหลักสูตรสอง ภาษาในระดับอาชีวะศึกษา ระดับปฏิบัติของภาคเอกชน ธุรกิจ และชุมชน ควรมีการสงเสริม สนับสนุนพัฒนาฝมือแรงงานเพิ่มขีดความสามารถดานชางเทคนิคอยูอยางตอเนื่อง ถายทอดใหความรู และความตองการดานเทคโนโลยียานยนตใหม สูสถาบันการศึกษาเพื่อชวยกันผลิตแรงงานยุคใหมเขาข สูองคกรธุรกิจยานยนตไดอยางตอเนื่อง โดยอาศัยความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน และชุมชนใน การเขามามีสวนรวม

abstract:

Abstract Title Guidelines for production and skill development in the new automotive industry (S Curve) to support future technological changes in Thailand's automotive industry Field Social Psychology Name Miss Channapa Saisamorn Course NDC Class 63 The three objectives of this research were 1) to study the labor skill conditions of the Thai automotive industry in the present era; 2 ) to study the problems and obstacles in the production and skill development of the automotive industry; and 3) to study the guidelines for production and skill development in the new automotive industry (S Curve) to support future technological changes in Thailand's automotive industry. The research methodology used was a qualitative research by collecting data from key informants who are representatives from the Thai automotive industry operators, automobile manufacturing sector, and 6 related agencies. The research tool used was an in-depth interview. The data analysis used was qualitative interpretations of the data. Result of the study on labor skills of the Thai automotive industry in the present era found that the production conditions related to the Thai automotive industry were positive. This may be a result of domestic market demand, Government policy aimed at promoting the automotive industry as the country's main industry in the long term, the importance of the government in terms of production factors, raw materials, energy, investment promotion Close cooperation between government and private agencies. Result of the study on problems and obstacles in the production and skill development of the automotive industry found that 1) the production of labor in the Thai automotive industry was not consistent with the needs of each industry group and the quality of labor in Thailand still lacks labor skills suitable for the modern automotive industry; 2) on skill development, most of the labour skills suitable for the modern automotive industry have little development. Result of the study on guidelines for production and skill development in the new automotive industry (S Curve) to support future technological changes in Thailand's automotive industry new automotive industry revealed that the government's policy level requires a policy formulation and clear goals, promotion and support of cooperation from all sectors in planning and preparing for labor ง capacity development, organize network cooperation projects with countries with potential to develop new automotive industries, develop a course of study in teaching in vocational groups up to the doctoral level, set up bilingual courses at the vocational education level, at the practical level of the private sector, businesses and communities. There should be ongoing promotions and supports for the development of skilled workers and to increase technician competency, and convey the knowledge and the need for new automotive technology to educational institutions to help produce new generations of workers into the automotive business continually through cooperation between the public, private and community sectors to participate.