เรื่อง: ต้นแบบแนวทางการบริหารจัดการพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย, (วปอ.9210)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จอมทรัพย์ โลจายะ, (วปอ.9210)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2563
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ตนแบบแนวทางการบริหารจัดการพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืนของ
ประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นายจอมทรัพย โลจายะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63
การศึกษาเรื่อง ตนแบบแนวทางการบริหารจัดการพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืนของ
ประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ศึกษาสถานการณ ปญหาที่เกี่ยวของกับพลังงานของประเทศไทย
2.ศึกษาองคประกอบ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการบริหารจัดการพลังงานทดแทนของประเทศไทย
และ 3. เสนอตนแบบแนวทางการบริหารจัดการพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย โดย
รวบรวมขอมูลทุติยภูมิ จากงานวิจัย เอกสารทางวิชาการ และวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ทั้งที่เปนเอกสาร
จากประมวลกฎหมาย บทความของผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของและขอมูลปฐมภูมิ จากการสัมภาษณกลุม
ตัวอยางซึ่งผูวิจัยไดแบงกลุมผูใหขอมูลเปน 3 กลุม ดังนี้ 1.ฝายบริหาร (กระทรวงพลังงาน) ผูออกนโยบาย
ภาครัฐ 2. ผูใชพลังงาน 3. ผูบริหารบริษัทพลังงาน วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content
Analysis) และการวิเคราะห เปรียบเทียบ และสังเคราะหขอมูลทฤษฎี หลักการตางๆ สรุปผล
การศึกษาได ดังนี้
ผลการวิจัยพบวา สถานการณดานพลังงานของประเทศไทยไดประมาณการความตองการ
ใชพลังงานในป 2564 คาดวาจะเพิ่มขึ้นเล็กนอยรอยละ 0.2 ถึง 1.9 จากการเพิ่มขึ้นของพลังงานเกือบ
ทุกประเภท จะมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นรอยละ 2.0 ตามภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศและตามการ
ดำเนินมาตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภาครัฐ สำหรับปญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการใช
พลังงาน 1. ผลกระทบจากการใชพลังงานนิวเคลียร 2. ผลกระทบจาการใชพลังงานจากเชื้อเพลิง
ฟอสซิล 3. ผลกระทบจากการใชผลิตภัณฑปโตรเลียม 4. ผลกระทบจากการใชถานหินลิกไนต
5. ผลกระทบจากการใชกังหันลม 6. ผลกระทบจากการใชพลังงานความรอนใตพิภพ 7. ผลกระทบ
จากการใชพลังน้ำผลิตกระแสไฟฟา 8. ผลกระทบจากการที่โลกรอนขึ้น และ 9. ผลกระทบของฝนกรด
สวนแนวทางการบริหารจัดการพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย ดังนี้1. Home Energy
Storage การตื่นตัวเรื่องพลังงานทดแทน 2. รถยนตไฟฟาราคาถูก 3. อนุรักษสิ่งแวดลอมดวยพลังงาน
ไฟฟา 4. ใหอิสระของการเลือกซื้อขายพลังงาน 5. บริหารจัดการพลังงานอยางครบวงจร 6. พัฒนา
บุคลากรใหเปนคนเกง ทีมดี และองคกรเปนเลิศ และ 7. สรางโอกาสใหสังคมและสิ่งแวดลอมที่เปน
มิตรตอชุมชนอยางยั่งยืน
ขอเสนอแนะ กระทรวงพลังงานควรสงเสริมการใชพลังงานโดยเปดโอกาสใหทุกภาคสวน
เขามามีสวนรวมในการวางแผนการใชพลังงาน เพื่อใหมีการใชพลังงานไดอยางยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ
คำนึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และความเปนอยูของประชาชน
abstract:
Abstract
Title A Model for Renewable Energy Management for Sustainability in Thailand
Field Science and Technology
Name Mr. Jomsup Lojaya Couse NDC Class 63
The study of a model for renewable energy management for sustainability in
Thailand aimed to 1. Study the situation of problems related to Thailand's energy 2. Study
the composition of factors influencing the effectiveness of renewable energy management in
Thailand and 3.Propose a model for sustainable renewable energy management in Thailand
by collecting secondary data from research papers, academic documents and related
literature both documents from the Code of Law and articles of relevant experts and
primary information from the interviews, the samples were divided into 3 groups as follows:
1. Administrative department (Ministry of Energy), government policy maker, 2. Energy
consumers and 3. Energy company executives. The data were analyzed by using content
analysis and analyzing, comparing and synthesizing various theories and principles as well.
The results of the study could be summarized as follows:
The results showed that Thailand's energy situation estimated that energy
demand in 2021 was projected to increase slightly by 0.2 to 1.9 percent from an increase in
almost all types of energy. There would be an increase in electricity consumption by 2.0
percent in line with the domestic economy and the government's economic stimulus
measures. For problems arising from the impact on energy consumption consisted of 1.The
impact of nuclear energy consumption, 2. The impact of fossil fuel energy consumption,
3.The effect of the use of petroleum products, 4.The effect of the use of lignite coal, 5. The
impact of wind turbines, 6.Theimpact of geothermal energy, 7.The impact of hydroelectric
power generation, 8.Theeffect of global warming and 9.The impact of acid rain. Renewable
energy management guidelines for sustainabilityin Thailand were as follows: 1. Home Energy
Storage, the awareness of renewable energy, 2. Cheap electric cars, 3. Environmental
conservation with electric energy,4.Freedom of energy purchases,5. Comprehensive energy
management, 6. Development of personnel to be competent, good team and excellent
organization and 7. Opportunity creation for sustainable society and environment that were
friendly to the community.
Recommendations, the Ministry of Energy should promote energy use by giving
opportunities for all sectors to participate in energy planning for sustainable and efficient use
of energy taking into account the impact on the environment and the well-being of the
people.