เรื่อง: กิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อความมั่นคงของชาติ กรณีศึกษา ตำบลต้นแบบสัมมาชีพ ต.บัวใหญ่ อ.นาย้อย จ.น่าน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ร้อยเอก เชษฐ์ รมยะนันทน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคดัยอ่
เรื่อง กิจการเพื่อสังคมเพื่อความมนั่ คงของชาติ
กรณีศึกษา: ต าบลต้นแบบสัมมาชีพ ต.บวัใหญ่อ.นาน้อย จ.น่าน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ร้อยเอกเชษฐ์ รมยะนันทน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่57
การวิจัยเรื่ อง “กิจการเพื่อสังคมเพื่อความความมนั่ คงของชาติกรณีศึกษา: ต าบลต้นแบบ
สัมมาชีพ ต.บัวใหญ่ อ.นาน้อย จ.น่าน” มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การ
ด าเนินงานของกลุ่มชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนจาก บมจ.ไทยเบฟเวอเรจและมูลนิธิสัมมาชีพ ของ
ชุมชนในพ้ืนที่ ต.บัวใหญ่ อ.นาน้อย จ.น่าน เพื่อศึกษาทัศนคติและความพึงพอใจของชุมชนที่ได้รับการ
สนับสนุนเพื่อก่อนให้เกิดการพัฒนาภายในชุมชนและเพื่อเสนอแนวทางการพฒั นาที่ยงั่ ยืนให้แก่ชุมชน
ภายใต้กรอบแนวคิด “กิจการเพื่อสังคม” เพื่อก่อให้เกิดความมนั่ คงทางสังคมของประเทศ สา หรับ
แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยในคร้ังน้ีจะใช้ข้อมูลเชิงปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างด้วย
แบบสอบถาม ซึ่งก็คือสมาชิกในโครงการ “หนึ่งไร่ เกษตรอินทรีย์” และจะใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากการ
คน้ ควา้จากบทความ สื่อสิ่งพิมพ์งานวิจยัและกรณีศึกษาอื่นๆที่หาไดจ้ากแหล่งขอ้ มูลสาธารณะ โดย
เน้ือหาของเอกสารดงักล่าวจะครอบคลุมในส่วนของแนวความคิดของกิจการเพื่อสังคม ผลการศึกษา
พบว่า เมื่อได้น าหลักแนวความคิดกิจการเพื่อสังคมมาวิเคราะห์ถึงแผนยุทธศาสตร์การฟ้ืนฟู(โครงการ
“หนึ่ งไร่ เกษตรอินทรีย์”) สามารถสร้างประโยชน์ให้มีพ้ืนที่ป่าและพ้ืนที่ป่าตน้ น้า เพิ่มข้ึน ชาวบา้น
สามารถลดค่าใชจ้่ายในการทา การเกษตรลงไดเ้นื่องจากผลของระบบชลประทานที่ดีข้ึนอีกท้งัค่าใชจ้่าย
ในเรื่องของค่าอาหารก็ลดลงเพราะสามารถปลูกกินเองได้นอกจากน้ันโครงการน้ียงัเป็นการสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสมาชิกได้ดีอีกด้วย ส าหรับข้อเสนอแนะของผู้วิจัยน าเสนอให้ประชาชนใน
ชุมชนได้มีโอกาสได้รรับรู้และมีความเข้าใจถึงแนวคิดกิจการเพื่อสังคมเพราะประโยชน์ที่ได้รับจะ
สามารถท าให้ประชาชนมีความยืดหยุ่นต่อการด ารงชีวิตประจ าวัน โดยมีสิ่งแวดลอ้ มในชุมชนที่ดีและ
สามารถอยู่ในสังคมด้วยความผาสุกอนั ที่จะทา ใหป้ ระเทศชาติมีความมนั่ คงเพิ่มสูงข้ึนข
Abstract
Title Social Enterprise for National stability
Case Study: Buayai liverlihood pilot community Nanoi, Nann
Field Social-Psychology
Subject Social Psychology
Name Capt. Chade Romyanan Course NDC Class 57
The objective of research on “ Social Enterprise for National Stability” in case of Buayai
livelihood pilot community Nanoi, Naan is to learn and analyze an operation of community which
supported by
Thaibev Co.,Ltd and Right Livelihood Foundation of local communities in Buayai. Moreover, the
research of this case will help learning their attitude and satisfaction to improve their local
communities for long last development under “ Social Enterprise” model and national stability. Our
sources of information for this case study will be primary information from the interview by
questionnaire which is a member of “1 Rai Organic Farming” and research from public articles and
other case study as a secondary information, The substance of this document will include the idea of
social enterprise which found that the analyzing of strategic for reconstruction of “ 1 Rai Organic
farm” will spread forest area and reduce farming expense since irrigation is improve and using their
own harvest Besides, this project will connect members of the community. The suggestion for the
researcher makes member of the community a chance to acknowledge the model of social service
which will be an advantage for their daily life in harmony environment which lead to national
stability.
abstract:
Abstract
Title Social Enterprise for National stability
Case Study: Buayai liverlihood pilot community Nanoi, Nann
Field Social-Psychology
Subject Social Psychology
Name Capt. Chade Romyanan Course NDC Class 57
The objective of research on “ Social Enterprise for National Stability” in case of Buayai
livelihood pilot community Nanoi, Naan is to learn and analyze an operation of community which
supported by
Thaibev Co.,Ltd and Right Livelihood Foundation of local communities in Buayai. Moreover, the
research of this case will help learning their attitude and satisfaction to improve their local
communities for long last development under “ Social Enterprise” model and national stability. Our
sources of information for this case study will be primary information from the interview by
questionnaire which is a member of “1 Rai Organic Farming” and research from public articles and
other case study as a secondary information, The substance of this document will include the idea of
social enterprise which found that the analyzing of strategic for reconstruction of “ 1 Rai Organic
farm” will spread forest area and reduce farming expense since irrigation is improve and using their
own harvest Besides, this project will connect members of the community. The suggestion for the
researcher makes member of the community a chance to acknowledge the model of social service
which will be an advantage for their daily life in harmony environment which lead to national
stability.