Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนจากมุมมองจิตวิทยาและกฎหมายล้มละลายในประเทศไทย, (วปอ.9206)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย คมน์ทนงชัย ฉายไพโรจน์, (วปอ.9206)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการแกปญหาหนี้ครัวเรือนจากมุมมองจิตวิทยาและกฎหมาย ลมละลายในประเทศไทย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายคมนทนงชัย ฉายไพโรจน หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๓ หนี้ครัวเรือนนับเปนปญหาสำคัญ เปนตนตอของปญหาความเหลื่อมล้ำ ปญหาสังคม ปญหาเศรษฐกิจ ปญหาสถาบันการเงิน ปญหาการเมือง และที่สุดอาจนำไปสูปญหาความมั่งคง หรือ ปญหาอื่นๆ อีกมากมาย หากปญหานี้ยังคงสะสมและทวีความรุนแรงขึ้น จะสงผลกระทบตอการ พัฒนาตามยุทธศาสตรชาติในทุกมิติ การแกไขปญหาหนี้ครัวเรือนแบบเดิม เชนการพักการชำระหนี้ การลดดอกเบี้ย การขยายระยะเวลาการชำระหนี้ การจัดทำคลีนิคแกไขปญหาหนี้ หรือการชวยเงิน อุดหนุนลูกหนี้ เหลานี้ไมสามารถแกปญหาไดอยางยั่งยืน และจะทำใหประชาชนกอหนี้เพิ่ม ขาดวินัย ในการใชเงิน และหนี้ไมมีวันหมดไป ปญหาหนี้ครัวเรือนเกิดจากปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ปจจัยทางเศรษฐกิจ ไดแก ระบบการเงินในปจจุบันของประเทศไทยเปนระบบการเงิน แบบผูกขาดมีธนาคารหรือสถาบันการเงินจำนวนนอย ขาดธนาคารชุมชนหรือธนาคารรายยอยที่เปน ทางเลือกใหประชาชนเขาถึงแหลงเงินกูตนทุนต่ำ ไมมีมาตรการผอนคลายในการเขาถึงแหลงทุนและ การชำระหนี้คืน ลูกหนี้เมื่อเปนหนี้แลวขาดอำนาจตอรองและตองตกเปนเบี้ยลางที่ตองแบกรับ ความเครียดและการหาเงินมาชำระคืนพรอมอัตราดอกเบี้ยที่สูงมาก ปจจัยทางสังคม ไดแก โครงสรางทางสังคมที่เนนการบริโภค ผานระบบการตลาดที่ ปลอยใหมีการโฆษณาชวนเชื่อ ผานระบบการศึกษาที่ไมสอนใหคนรูจักออม ไมมีการรณรงคสงเสริม ความรูเรื่องการลงทุนอยางตอเนื่องในทุกระดับ ทางแกที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน รัฐบาลควรผลักดันใหมีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ โดยเพิ่มเติมกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการปรับโครงสรางหนี้ของบุคคลธรรมดาซึ่งมีรายไดประจำอัน เกิดจากหนี้ครัวเรือน โดยควรพิจารณาแกไขในแนวทางของกฎหมายลมละลายของประเทศ สหรัฐอเมริกา Chapter 13 และนำขอดีของระบบกฎหมายของประเทศสหราชอาณาจักร และระบบ DRO มาเปนแนวทาง และรัฐบาลควรออกกฎหมายหรือระเบียบเกี่ยวกับการโฆษณาผลิตภัณฑ ทางการเงิน ในทำนองเดียวกันกับการโฆษณาเครื่องดื่มประเภทสุราและของมึนเมา หรือโฆษณาบุหรี่ ในลักษณะมีคำเตือนที่เปนอันตรายตอการกูยืมหรือกอหนี้ทุกประเภท

abstract:

Abstract Title The solution to household debt problems from a psychological and legal perspective in Thailand Field Social - Psychology Name Mr. Komtharnongchai Chaiphairojn Course NDC Class 63 Household debt in Thailand is a crucial problem. It is a source of the problems of inequality, social securities, politics, economics, financial institutions, stabilities of state, and others. If the problems of household debt are still accumulated and severe, they will inevitably affect to all levels of strategy plan of Thailand. Old methods for solving problems on household debt such as moratorium on debt, interest reduction, extension of the repayment period, establishing a debt solution clinic, or debtor subsidies, cannot be solved the problems sustainably and efficiently, moreover, Old methods may cause people to incur more debt, lack of discipline in spending money and finally debt never expires. Household debt problems arise from socio-economic factors. Economic factors, there is a monopoly financial system. There are a few banks or financial institutions, lack of community banks or local banks that are an alternative to low-cost funding sources. There is no easing in access to funding sources and repayment of debt. The debtors lack the bargaining power and are at a disadvantage to bear the stress and money to pay high interest rates. Social factors, such as consumption-focused social structure through a marketing system that allows propaganda, through an education system that does not teach people to save, and there is no ongoing campaign to promote investment knowledge at all levels. An effective and sustainable solution The government should push for the amendment of the Bankruptcy Act B.E.2483 by adding to the process of considering the debt restructuring of natural persons. This should be considered in the guidelines of the Bankruptcy law of the United States of America Chapter 13, and take the advantages of the United Kingdom system with DRO system as a guide. Furthermore, Thai government should enact laws or regulations regarding the advertising of financial products, similarly to the advertising of alcoholic beverages and intoxicants, or cigarette that has a warning that is dangerous for borrowing or incurring all types of debt.