Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC หลังวิกฤต covid-19, (วปอ.9204)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง คณิศร ไตรรัตนจรัสพร, (วปอ.9204)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง กลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยวชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC หลังวิกฤต โควิด-19 ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นางคณิศร ไตรรัตนจรัสพร หลักสูตร วปอ. รุนที่63 การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1 เคราะหปจจัยสำคัญที่สงผลตอการจัดการ ทองเที่ยวโดยชุมชน 2. วิเคราะหปญหาและอุปสรรคตอการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน และ 3. เสนอกลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยวชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC หลังวิกฤตโควิด-19 งานวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ใชแบบสัมภาษณอยางมีโครงสรางในการดำเนินเก็บรวมรวมขอมูล ในการวิจัย กระบวนวิธีในการเก็บขอมูลประกอบดวย การสนทนากลุมแบบเจาะจงการสัมภาษณเชิงลึก การสัมภาษณแบบสนทนารายบุคคลเฉพาะประเด็น และการวิเคราะห SWOT ผูใหขอมูลสำคัญ ประกอบดวย คณะกรรมการดำเนินงานและสมาชิกกลุมทองเที่ยวชุมชนจำนวน 10 คน ตัวแทน จากหนวยงานภาครัฐ 5 คน และผูประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยวชุมชนในเขต เศรษฐกิจพิเศษ EEC 3 คน แปลผลการวิจัยโดยการวิเคราะหเนื้อหา และการวิเคราะหเปรียบเทียบ และสังเคราะหขอมูล โดยเชื่อมโยงกับทฤษฎี แผนปฏิบัติการการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยว ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ผลการวิจัยพบวา ปจจัยสำคัญที่สงผลตอการจัดการทองเที่ยว ชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC ไดแก 1. ดานชุมชน 2. ดานการจัดการองคกร 3. ดานผลิตภัณฑ 4. ดานการตลาด 5. ดานความสัมพันธกับนักทองเที่ยว 6. ดานการใชเทคโนโลยีจุดแข็งของ การทองเที่ยวชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC ไดแก ศักยภาพของจังหวัดในเขต EEC งบประมาณ จากภาครัฐเนื่องจากรัฐบาลมีแนวนโยบายสนับสนุนเศรษฐกิจฐานราก ผานประเทศไทย 4.0 และการทองเที่ยวโดยชุมชนก็เปนหนึ่งในแนวทางสนับสนุน จุดออนของการทองเที่ยวชุมชน ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC ไดแก ดานการเดินทาง ดานความรูทักษะการจัดการการทองเที่ยว ดานขีดความสามารถในการรองรับนักทองเที่ยว ดานการจัดการผลประโยชนดานพี่เลี้ยงและ ความตอเนื่องในการทำงานรับนักทองเที่ยว ดานรวมมือกับบริษัทนำเที่ยว ดาน Social Media โอกาสของการทองเที่ยวชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC ไดแกดานแนวคิดและประสบการณทองเที่ยว ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ดานผลกระทบตอชุมชน ดานการทำงานเปนทีม ดานนักทองเที่ยวที่มีแนวโนมสนใจการทองเที่ยวที่สรางประสบการณมากขึ้น ดานบริษัทนำเที่ยวที่เริ่ม ใหความสนใจการทองเที่ยวชุมชนมากขึ้น วิกฤตโควิดทำใหรูปแบบการทองเที่ยวเปลี่ยนไป Online Social Media ทำใหนักทองเที่ยวสามารถเห็นขอมูลไดคอนขางมาก ระบบการคมนาคมขนสงที่มี ระบบการเชื่อมตอทางการคมนาคมที่สะดวกขึ้น ดานการตลาด นโยบายรัฐ อุปสรรคของ การทองเที่ยวชุมชนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC ไดแก ดานการทำงานแบบบูรณาการดาน ความปลอดภัย และการแพรระบาดของโรคโควิด – 19 กลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยวชุมชน ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC หลังวิกฤตโควิด-19 ไดแก 1. การเพิ่มทักษะการใชภาษาตางประเทศ เพื่อการสื่อสารในงานการทองเที่ยวโดยชุมชน 2. การสรางฐานการเรียนรูของดีชุมชนทองถิ่นที่เปนข อัตลักษของชุมชนทองเที่ยว ในเขต EEC 3. การจัดทำสื่อประชาสัมพันธเพื่อสรางภาพลักษณ ทางการตลาดการทองเที่ยวโดยชุมชนในเขต EEC 4. การทดลองตลาดโดยบล็อกเกอร(Blogger) ตางชาติ เพื่อสรางการรับรูและเรียนรูกิจกรรมการทองเที่ยวโดยชุมชนในเขต EEC 5. การใหความรู ดานการตลาดออนไลนเพื่อการทองเที่ยวใหกับชุมชนทองเที่ยวตาง ๆ ในเขต EEC 6. การเรียนรู การใชเครื่องมือทางการตลาดเพื่อการทองเที่ยวชุมชนในเขต EEC 7. การสรางผลิตภัณฑจาก ประสบการณ

abstract:

Abstract Title Post-COVID19 Tourism Development Strategies for EEC Special Administrative Region Field Economics Name Mrs Khanison Trirattanajaraspon Course NDC Class 63 This research is being developed to analyse factors, issues, difficulties that effect a community tourism management and to offer post-pandemic tourism development strategies for EEC special administrative region. This qualitative research will be collected in a form of target groups communication, intensive interview on specific group of people, and SWOT analysis; which will be involved with 10 people of a board and members of community tourism, 5 representatives from a specific public sector and 3 business owners related to a community tourism of EEC special administrative region. From comparative analysis and synthesis in relation to a thoery of tourism development for the region, a several factors that effects a management are found. These are related to community areas, sector management, products, marketing, technology and tourist relationship. Strengths and weaknesses are considered as internal factors that affect a tourism management whereas opportunities and threats are external factors. Strengths are management qualities that propel it towards the set objectives. Community tourism management in EEC region has strength that facilitate the achievement of the latter. This includes a government financial support on Thailand 4.0 policy and local people teamwork which lead to a great potential of EEC provinces. Weaknesses are internal factors that act as barriers, preventing a community tourism management from achieving its goals. Community tourism management faces several such factors including a difficulty of travel routes, an influence of social media, and local people skills in specific areas. Opportunities are regarded as issues of the external environment that a community tourism management in EEC region can capitalise on to improve its potential and profitability. Such opportunities include rapid population growth, a greater of natural and culture resources in EEC region, a tourist interest of gaining experiences, and an tourist company on local tourism. Threats are external factors that prevent an entity from achieving its desired objectives. A local tourism model faces threats of the COVID19 pandemic and a lack of conviction on tourists. In conclusion, post-COVID19 tourism development strategies for EEC special administrative region can be accomplished by : 1. Improving of foreign languages skill within an area 2. Creating activity basedง learning on unique local products 3. Producing of public relations media 4. Organising activities for foreign travel bloggers 5. Gaining knowledge and experience on online communication tools and marketing for local businesses 6. Generating great local products from local business experiences