เรื่อง: การเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ของคนไทยในอนาคต, (วปอ.9203)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย คณิพงษ์ แขวัฒนะ, (วปอ.9203)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2563
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การเสริมสรางคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคต
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายคณิพงษ แขวัฒนะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63
วัตถุประสงคของการวิจัยฉบับนี้มี3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพคานิยมที่พึงประสงค
ของคนไทยดานคุณธรรม จริยธรรม และความรักและภูมิใจในความเปนชาติไทย 2) เพื่อศึกษา วิเคราะห
ขอดี ขอเสียและเปรียบเทียบการสรางคานิยมที่พึงประสงคของตางประเทศ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการ
สรางเสริมคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคต วิธีการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บ
ขอมูลจากผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนผูแทนจากผูประกอบการอุตสาหกรรมยานยนตของไทย ผูแทนจาก
ขาราชการและอดีตขาราชการประจำประเทศตางๆ และผูทรงคุณวุฒิในสถาบันการศึกษาจำนวน 6 ทาน
เครื่องมือในการวิจัย คือ การสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูลใชการตีความจากขอมูลที่เชิงคุณภาพ
ผลการศึกษาสภาพคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยดานคุณธรรม จริยธรรม และความ
รักและภูมิใจในความเปนชาติไทย พบวา ประเภทคานิยมที่พึงประสงคของไทย แบงออกเปน
3 ประเภท คือ คานิยมดานคุณธรรมจริยธรรมและความเปนไทยตามนโยบายของคณะรักษาความ
สงบแหงชาติ (คสช.) เมื่อ 4 สิงหาคม 2557 คานิยมตามหลักธรรมตามแนวคิดของ ป.อ.ปยุคโต
(2548) และคานิยมตามแนวคิดของนักวิชาการตางประเทศ คุณธรรม จริยธรรม และความรักชาติ มี
ความสำคัญอยางมากตอการเปนประชากรของสังคมใดสังคมหนึ่ง สำหรับความรักและความภูมิใจใน
ความเปนชาติไทย เปนวิธีการที่แสดงออกอยางถูกตอง ปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับคานิยมของคน
ไทยในปจจุบัน เกิดจากองคประกอบที่สำคัญคือปจจัยภายนอก และปจจัยภายใน
ผลการศึกษาวิเคราะหขอดี ขอเสียและเปรียบเทียบการสรางคานิยมที่พึงประสงคของ
ตางประเทศ พบวา ประเทศจีน สรางคานิยมที่พึงประสงคจากการกำหนดเปาหมายกับการรณรงค
อยางกวางขวาง ขณะที่ประเทศเกาหลี ญี่ปุน และเยอรมนี มีลักษณะคลายกัน คือ ความมีวินัยใน
ตัวเอง เพราะไดรับการฝกฝนและปลูกฝงมาเปนอยางดีจนกลายเปนนิสัย การสรางความแข็งแกรงใน
ครอบครัว
ผลการวิเคราะหแนวทางการสรางเสริมคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคต
พบวา การที่ประเทศชาติจะมั่นคงไดตองมีประชากรที่มีศักยภาพ เปนกำลังหลักใหกับประเทศชาติ
บานเมือง และการที่ประชากรมีคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และความรักชาติ นั้นถือไดวาเปน
วัฒนธรรมอันดีของประเทศซึ่งวัฒนธรรมนั้นเปนคุณคาสังคม และเศรษฐกิจ สามารถสรางคน และทำ
ใหคนอยูรวมกันอยางมีความสงบสุข มีความเขาใจ และใชวัฒนธรรมเปนตัวเชื่อมรอย และนำเอา
ตนทุนทางวัฒนธรรมมาสรางสรรค หรือตอยอดมาสรางอาชีพใหกับประชาชนไทย รวมทั้งยังเปนการ
สรางภาพลักษณ เกียรติภูมิ ใหกับประเทศชาติไดนั้น เกิดจากปจจัยภายในในการสรางคานิยม ตอง
เปนเรื่องที่ทุกสถาบันตองชวยกัน จะตองเริ่มจาก จากแผน และยุทธศาสตรชาติ ในการกำหนดที่พึง
ประสงค ตองทำไปพรอมกันทุกดาน และทุกมิติ ตั้งแตระดับรัฐบาลในฐานะผูกำหนดนโยบาย ระดับ
หนวยงานของรัฐในฐานะผูปฏิบัติ ระดับการศึกษา ระดับสังคม/ชุมชน ระดับครอบครัว และสื่อตางๆ
abstract:
Abstract
Title Guidelines for production and skill development in the new
automotive industry (S Curve) to support future technological
changes in Thailand's automotive industry
Field Social Psychology
Name Mr. Kanipong Khaewattana Course NDC Class 63
The three objectives of this research were 1) to study the condition of
desirable values of Thai people in terms of morality, ethics, and the love and pride
of being a Thai national; 2) to study and analyze advantages, disadvantages, and
comparison of building desirable values of foreign countries; 3) to study the
approaches to enhance desirable values of the Thai people in the future. The
research methodology used was a qualitative research by collecting data from key
informants who are representatives of the Thai automotive industry operators,
representatives of government officials and former government officials in various
countries, and 6 experts in educational institutions. The research tool used was an indepth interview. The data analysis used was qualitative interpretations of the data.
Result of the study on the condition of desirable values of Thai people
in terms of morality, ethics, and love and pride of being a Thai national found that
the desirable values of Thai people can be divided into 3 categories: moral values,
ethics and Thainess according to the policy of the National Council for Peace and
Order (NCPO) on August 4, 2014; values according to the principles of Bhikkhu P.A.
Payutto (2005); and values according to the ideas of foreign scholars. Morals, ethics
and patriotic are very important factors for being a population of any societies. The
love and pride of being a Thai national is one righteous way of expressing it.
Problems and obstacles concerning values of the Thai people today arise from
important elements such as external factors and internal factors.
Result of the study and analysis on the advantages, disadvantages and
comparison of building desirable values of foreign countries found that China created
desirable values from targeting and campaigning widely while Korea, Japan and
Germany have similar characteristics, namely self-discipline, because they have been
trained and cultivated so well that it becomes a habit in building strength in the
families.
Result of the analysis of the approaches to fostering desirable values of
Thai people in the future revealed that, for a country to have stability, there must be
potential populations as the main force for the nation, and for the population to
have moral, ethical and patriotic qualities, it can be regarded as a good culture of
the country where culture is a social and economic value that can create people
and make people live together in peace and harmony with understanding and using
the culture as a link and utilizing cultural costs to create or extend funding to create
a career for Thai people, as well as creating an image of dignity for the nation caused
by internal factors. Creating values must be something that need every institution to
help each other. It must start from the national plan and national strategy in
determining what is desirable and must be done simultaneously in all aspects and
dimensions, from the government level as a policy maker, the government agency
level as a practitioner, education level, social/community level, family level including
the media.