Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ของคนไทยในอนาคต, (วปอ.9203)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย คณิพงษ์ แขวัฒนะ, (วปอ.9203)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การเสริมสรางคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคต ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายคณิพงษ แขวัฒนะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63 วัตถุประสงคของการวิจัยฉบับนี้มี3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพคานิยมที่พึงประสงค ของคนไทยดานคุณธรรม จริยธรรม และความรักและภูมิใจในความเปนชาติไทย 2) เพื่อศึกษา วิเคราะห ขอดี ขอเสียและเปรียบเทียบการสรางคานิยมที่พึงประสงคของตางประเทศ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการ สรางเสริมคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคต วิธีการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บ ขอมูลจากผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนผูแทนจากผูประกอบการอุตสาหกรรมยานยนตของไทย ผูแทนจาก ขาราชการและอดีตขาราชการประจำประเทศตางๆ และผูทรงคุณวุฒิในสถาบันการศึกษาจำนวน 6 ทาน เครื่องมือในการวิจัย คือ การสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูลใชการตีความจากขอมูลที่เชิงคุณภาพ ผลการศึกษาสภาพคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยดานคุณธรรม จริยธรรม และความ รักและภูมิใจในความเปนชาติไทย พบวา ประเภทคานิยมที่พึงประสงคของไทย แบงออกเปน 3 ประเภท คือ คานิยมดานคุณธรรมจริยธรรมและความเปนไทยตามนโยบายของคณะรักษาความ สงบแหงชาติ (คสช.) เมื่อ 4 สิงหาคม 2557 คานิยมตามหลักธรรมตามแนวคิดของ ป.อ.ปยุคโต (2548) และคานิยมตามแนวคิดของนักวิชาการตางประเทศ คุณธรรม จริยธรรม และความรักชาติ มี ความสำคัญอยางมากตอการเปนประชากรของสังคมใดสังคมหนึ่ง สำหรับความรักและความภูมิใจใน ความเปนชาติไทย เปนวิธีการที่แสดงออกอยางถูกตอง ปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับคานิยมของคน ไทยในปจจุบัน เกิดจากองคประกอบที่สำคัญคือปจจัยภายนอก และปจจัยภายใน ผลการศึกษาวิเคราะหขอดี ขอเสียและเปรียบเทียบการสรางคานิยมที่พึงประสงคของ ตางประเทศ พบวา ประเทศจีน สรางคานิยมที่พึงประสงคจากการกำหนดเปาหมายกับการรณรงค อยางกวางขวาง ขณะที่ประเทศเกาหลี ญี่ปุน และเยอรมนี มีลักษณะคลายกัน คือ ความมีวินัยใน ตัวเอง เพราะไดรับการฝกฝนและปลูกฝงมาเปนอยางดีจนกลายเปนนิสัย การสรางความแข็งแกรงใน ครอบครัว ผลการวิเคราะหแนวทางการสรางเสริมคานิยมที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคต พบวา การที่ประเทศชาติจะมั่นคงไดตองมีประชากรที่มีศักยภาพ เปนกำลังหลักใหกับประเทศชาติ บานเมือง และการที่ประชากรมีคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และความรักชาติ นั้นถือไดวาเปน วัฒนธรรมอันดีของประเทศซึ่งวัฒนธรรมนั้นเปนคุณคาสังคม และเศรษฐกิจ สามารถสรางคน และทำ ใหคนอยูรวมกันอยางมีความสงบสุข มีความเขาใจ และใชวัฒนธรรมเปนตัวเชื่อมรอย และนำเอา ตนทุนทางวัฒนธรรมมาสรางสรรค หรือตอยอดมาสรางอาชีพใหกับประชาชนไทย รวมทั้งยังเปนการ สรางภาพลักษณ เกียรติภูมิ ใหกับประเทศชาติไดนั้น เกิดจากปจจัยภายในในการสรางคานิยม ตอง เปนเรื่องที่ทุกสถาบันตองชวยกัน จะตองเริ่มจาก จากแผน และยุทธศาสตรชาติ ในการกำหนดที่พึง ประสงค ตองทำไปพรอมกันทุกดาน และทุกมิติ ตั้งแตระดับรัฐบาลในฐานะผูกำหนดนโยบาย ระดับ หนวยงานของรัฐในฐานะผูปฏิบัติ ระดับการศึกษา ระดับสังคม/ชุมชน ระดับครอบครัว และสื่อตางๆ

abstract:

Abstract Title Guidelines for production and skill development in the new automotive industry (S Curve) to support future technological changes in Thailand's automotive industry Field Social Psychology Name Mr. Kanipong Khaewattana Course NDC Class 63 The three objectives of this research were 1) to study the condition of desirable values of Thai people in terms of morality, ethics, and the love and pride of being a Thai national; 2) to study and analyze advantages, disadvantages, and comparison of building desirable values of foreign countries; 3) to study the approaches to enhance desirable values of the Thai people in the future. The research methodology used was a qualitative research by collecting data from key informants who are representatives of the Thai automotive industry operators, representatives of government officials and former government officials in various countries, and 6 experts in educational institutions. The research tool used was an in￾depth interview. The data analysis used was qualitative interpretations of the data. Result of the study on the condition of desirable values of Thai people in terms of morality, ethics, and love and pride of being a Thai national found that the desirable values of Thai people can be divided into 3 categories: moral values, ethics and Thainess according to the policy of the National Council for Peace and Order (NCPO) on August 4, 2014; values according to the principles of Bhikkhu P.A. Payutto (2005); and values according to the ideas of foreign scholars. Morals, ethics and patriotic are very important factors for being a population of any societies. The love and pride of being a Thai national is one righteous way of expressing it. Problems and obstacles concerning values of the Thai people today arise from important elements such as external factors and internal factors. Result of the study and analysis on the advantages, disadvantages and comparison of building desirable values of foreign countries found that China created desirable values from targeting and campaigning widely while Korea, Japan and Germany have similar characteristics, namely self-discipline, because they have been trained and cultivated so well that it becomes a habit in building strength in the families. Result of the analysis of the approaches to fostering desirable values of Thai people in the future revealed that, for a country to have stability, there must be potential populations as the main force for the nation, and for the population to have moral, ethical and patriotic qualities, it can be regarded as a good culture of the country where culture is a social and economic value that can create people and make people live together in peace and harmony with understanding and using the culture as a link and utilizing cultural costs to create or extend funding to create a career for Thai people, as well as creating an image of dignity for the nation caused by internal factors. Creating values must be something that need every institution to help each other. It must start from the national plan and national strategy in determining what is desirable and must be done simultaneously in all aspects and dimensions, from the government level as a policy maker, the government agency level as a practitioner, education level, social/community level, family level including the media.